ชื่อรายงานการวิจัย : การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๔๔
ผู้วิจัย : นายพีรวัฒน์ ชัยสุข นางสุพัตรา ธิชัย นายสรายุทธ อุดม นางสาวศศินิภา อาลากุล
ส่วนงาน : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปีงบประมาณ : ๒๕๔๗
ทุนอุดหนุนการวิจัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐/๘๐ และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑,๒ และ ๓ จำนวนโรงเรียนละ ๓๐ คน รวม ๙๐ คน ปีการศึกษา ๒๕๔๗ การหาประสิทธิภาพของบทเรียนนำไปทดลองหาประสิทธิภาพแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบกลุ่มเล็กและกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการทดลองโดยให้นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย (๑) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา (๒) แบบวัดความคิดเห็นที่มีต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปรากฏว่า
ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
๑) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่า ประสิทธิภาพ ๘๓.๔๓/๘๓.๑๗ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
๒) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น อยู่ในระดับ ดี
ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
๑) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่า ประสิทธิภาพ ๘๒.๘๗/๘๒.๒๖ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
๒) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น อยู่ในระดับ ดี
และในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
๑) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่า ประสิทธิภาพ ๘๒.๕๖/๘๒.๑๐ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
๒) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น อยู่ในระดับ ดี
ผู้วิจัย : นายพีรวัฒน์ ชัยสุข นางสุพัตรา ธิชัย นายสรายุทธ อุดม นางสาวศศินิภา อาลากุล
ส่วนงาน : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปีงบประมาณ : ๒๕๔๗
ทุนอุดหนุนการวิจัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐/๘๐ และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑,๒ และ ๓ จำนวนโรงเรียนละ ๓๐ คน รวม ๙๐ คน ปีการศึกษา ๒๕๔๗ การหาประสิทธิภาพของบทเรียนนำไปทดลองหาประสิทธิภาพแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบกลุ่มเล็กและกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการทดลองโดยให้นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย (๑) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา (๒) แบบวัดความคิดเห็นที่มีต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปรากฏว่า
ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
๑) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่า ประสิทธิภาพ ๘๓.๔๓/๘๓.๑๗ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
๒) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น อยู่ในระดับ ดี
ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
๑) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่า ประสิทธิภาพ ๘๒.๘๗/๘๒.๒๖ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
๒) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น อยู่ในระดับ ดี
และในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
๑) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่า ประสิทธิภาพ ๘๒.๕๖/๘๒.๑๐ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
๒) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น อยู่ในระดับ ดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น