ประวัติหัวหน้าโครงการวิจัย
นายแสงวาท วงค์ใหญ่
ประวัติการศึกษา
-ประกาศนียบัตรการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.สูง) วิชาเอกจิตวิทยาการศึกษา วิทยาลัยครูเชียงใหม่
-การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) วิชาเอกการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
-การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) วิชาเอกการวิจัยและประเมินผล มหาวิทยาลัยนเรศวร
-Cert.in Ed. AUSTRALIA, -Cert.in Ed. NEWZEALAND
ตำแหน่งทางวิชาการ
ศึกษานิเทศก์ หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยและพัฒนาระบบบริหารการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพะเยา เขต ๑
รหัสนักวิจัย ๐๐๐๒๕๔๘๖
ผลงานทางวิชาการ ประสบการณ์ และงานวิจัย
-ผู้ช่วยอาจารย์, ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนแม่ใจวิทยาคม อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา
-อาจารย์ใหญ่โรงเรียนเชียงม่วนวิทยาคม อำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา
-เลขานุการกลุ่มโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดพะเยา (กรมวิชาการ)
-ศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา จังหวัดพะเยา
-นักวิจัยของกรมวิชาการ, กรมสามัญศึกษา, ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ เขต ๑๐ เชียงใหม่
-หัวหน้าฝ่ายพัฒนาวิชาการ สำนักงานสามัญศึกษาจังหวัดพะเยา
-ประธานกรรมการวิจัยจังหวัดพะเยา, ประธานฝ่ายประเมินผลโครงการเกษตรกรรมยั่งยืน
-อาจารย์พิเศษวิทยาลัยพยาบาลพะเยา, สถาบันราชภัฎเชียงราย
-อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตพะเยา
-ผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจสอบเครื่องมือการวิจัยของนิสิตปริญญาโท
-งานวิจัยที่เป็นกรรมการร่วมกับหน่วยงานอื่น สถานศึกษา และส่วนราชการ ประมาณ ๒๐ เรื่อง
ผลงานดีเด่น
ได้รับโล่รางวัลเป็นผู้มีผลงานวิจัยดี มีคุณภาพ ประจำปี พ.ศ.๒๕๔๖ จากสำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และคณะกรรมการการศึกษา การศาสนา และการวัฒนธรรม กระทรวงศึกษาธิการ
วันศุกร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
ดร.บัว พลรัมย์
ประวัติผู้ร่วมวิจัย
1. ชื่อ นายบัว ชื่อสกุล พลรัมย์
ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ 51/12 หมู่ 9 ต. บางไผ่ ถ.บางแวก ซ.พนาสันต์ 1 เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160
2. ประวัติการศึกษา
- พธ.บ. (มานุษยสงเคราะห์ศาสตร์) มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- M.A (Sociology) Poona University of India
- Ph.D. (Social Science) Maghadh University of India
3. ตำแหน่งปัจจุบัน
- อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะสังคมศาสตร์ สาขาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- เลขานุการ และกรรมการที่ปรึกษาสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนโยธินบูรณะ กรุงเทพฯ
4. ประสบการณ์การทำงาน
- ผู้อำนวยการ โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาฯ (2527-2529)
- อาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ และหัวหน้าศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุม (2529-2534)
- อาจารย์ประจำบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาฯ (2534-2540)
- อาจารย์ประจำคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาฯ (2541-2543)
- อาจารย์สอนโครงการภาคภาษาอังกฤษ ระดับ ม.1-ม.4 โรงเรียนโยธินบูรณะ กรุงเทพฯ (2543-2549)
5. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
- นักวิจัยแห่งชาติ รหัสประจำตัว 3800-0041
- โครงการวิจัยเรื่อง “ทัศนะของพระวิทยากรที่มีต่อโครงการพัฒนาเยาวชนภาคฤดูร้อนของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” ปี พ.ศ.2534 (ผู้ร่วมวิจัย)
- เป็นที่ปรึกษา โครงการวิจัยเรื่อง “การวิจัยการสร้างรายวิชากระบวนการคิดที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทยของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา หน่วยงานนิเทศ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ.2536”
- โครงการวิจัยเรื่อง “พระสงฆ์กับบทบาทในการพัฒนาเยาวชน : ศึกษาเฉพาะกรณีบทบาทในการให้การศึกษาและฝึกอบรมแก่เยาวชนในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์” ปี พ.ศ.2542 (ผู้ร่วมวิจัย)
- เรื่อง “ศึกษาบทบาทของพระสงฆ์ในการเผยแผ่ศีลธรรมต่อประชาชน ทางสถานีวิทยุกระจาย เสียงในประเทศไทย” ปี พ.ศ.2546 (ผู้ร่วมวิจัย)
- เรื่อง “การศึกษาพฤติกรรมการรับข่าวสารของประชาชนที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาภูมิปัญญาในการพึ่งตนเองเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางพระพุทธศาสนา” ปี พ.ศ.2547 (ผู้ร่วมวิจัย)
- เรื่อง “การรับข่าวสารจากสื่อมวลชนของพระสังฆาธากรเพื่อเผยแพร่และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ยั่งยืน” ปี พ.ศ.2548 (ผู้ร่วมวิจัย)
1. ชื่อ นายบัว ชื่อสกุล พลรัมย์
ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ 51/12 หมู่ 9 ต. บางไผ่ ถ.บางแวก ซ.พนาสันต์ 1 เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160
2. ประวัติการศึกษา
- พธ.บ. (มานุษยสงเคราะห์ศาสตร์) มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- M.A (Sociology) Poona University of India
- Ph.D. (Social Science) Maghadh University of India
3. ตำแหน่งปัจจุบัน
- อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะสังคมศาสตร์ สาขาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
- เลขานุการ และกรรมการที่ปรึกษาสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนโยธินบูรณะ กรุงเทพฯ
4. ประสบการณ์การทำงาน
- ผู้อำนวยการ โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาฯ (2527-2529)
- อาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ และหัวหน้าศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุม (2529-2534)
- อาจารย์ประจำบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาฯ (2534-2540)
- อาจารย์ประจำคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาฯ (2541-2543)
- อาจารย์สอนโครงการภาคภาษาอังกฤษ ระดับ ม.1-ม.4 โรงเรียนโยธินบูรณะ กรุงเทพฯ (2543-2549)
5. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
- นักวิจัยแห่งชาติ รหัสประจำตัว 3800-0041
- โครงการวิจัยเรื่อง “ทัศนะของพระวิทยากรที่มีต่อโครงการพัฒนาเยาวชนภาคฤดูร้อนของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” ปี พ.ศ.2534 (ผู้ร่วมวิจัย)
- เป็นที่ปรึกษา โครงการวิจัยเรื่อง “การวิจัยการสร้างรายวิชากระบวนการคิดที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในสังคมไทยของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา หน่วยงานนิเทศ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ.2536”
- โครงการวิจัยเรื่อง “พระสงฆ์กับบทบาทในการพัฒนาเยาวชน : ศึกษาเฉพาะกรณีบทบาทในการให้การศึกษาและฝึกอบรมแก่เยาวชนในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์” ปี พ.ศ.2542 (ผู้ร่วมวิจัย)
- เรื่อง “ศึกษาบทบาทของพระสงฆ์ในการเผยแผ่ศีลธรรมต่อประชาชน ทางสถานีวิทยุกระจาย เสียงในประเทศไทย” ปี พ.ศ.2546 (ผู้ร่วมวิจัย)
- เรื่อง “การศึกษาพฤติกรรมการรับข่าวสารของประชาชนที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาภูมิปัญญาในการพึ่งตนเองเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางพระพุทธศาสนา” ปี พ.ศ.2547 (ผู้ร่วมวิจัย)
- เรื่อง “การรับข่าวสารจากสื่อมวลชนของพระสังฆาธากรเพื่อเผยแพร่และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ยั่งยืน” ปี พ.ศ.2548 (ผู้ร่วมวิจัย)
รศ.บำรุง สุขพรรณ์
ประวัติผู้วิจัย
1. ชื่อ นายบำรุง ชื่อสกุล สุขพรรณ์
ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ 33/1032 หมู่บ้าน ต.รวมโชค ซอยโชคชัย 4 ซอย 24 เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทร. 0-2538-1446
ที่ทำงาน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โทรศัพท์ 0-2613-2704
2. ประวัติการศึกษา
-เตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนโพฒิสารศึกษา พ.ศ.2506
-ประกาศนียบัตรวิชาการหนังสือพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2514
-วารสารศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2517
-สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2522
-ประกาศนียบัตรการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยทุนสหประชาชาติ ณ กรุงมนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ค.ศ.1984 (ทุน UNDP.)
-ศึกษาดูงานประเทศต่าง ๆ ด้านสื่อสารมวลชน สิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม และการศึกษาดังนี้
-สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองปักกิ่ง เมืองคุณหมิง เมืองเซี่ยงไฮ้ เมืองฮ่องกง เมืองกุ้ยหลิน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน (ไต้หวัน)
สาธารณรัฐเยอรมัน เดนมาร์ค ฟินแลนด์ ออสเตรีย ประชาธิปไตย ประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ)
สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี (เกาหลีใต้)
สาธาณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)
สาธารณรัฐประชาชนเวียดนาม เซี่ยงไฮ้ ออสเตรเลีย เป็นต้น เพิ่มความรู้ประสบการณ์การบริหารและการจัดการให้มีประสิทธิภาพการเรียนการสอนอย่างดียิ่ง
3. ตำแหน่งปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
4. ตำแหน่งบริหาร ในอดีตดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักเสริมศึกษา และบริการสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4 สมัย
-สมัยที่ 1 2534-2537
-สมัยที่ 2 2537-2540
-สมัยที่ 3 2543-2545
-สมัยที่ 4 2546-14 พฤษภาคม 2549
บริหารงานและจัดการฝึกอบรม มุ่งผลงานเป็นสำคัญ “ผลงานก้าวหน้า พัฒนามวลชน ก้าวไกลเสริมศึกษา : มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อมวลชน”
5. ผลงานด้านการบรรยายและตำแหน่งวิชาการ
-รองศาสตราจารย์ ในคณะวารสารศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2526
-ผู้ช่วยศาสตราจารย์ในคณะวารสารศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2523
-อาจารย์ประจำ ในคณะวารสารศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2517
(เริ่มรับราชการ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2507 สังกัดกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย โอนมารับราชการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ.2513 สังกัดกองห้องสมุด สำนักงานเลขาธิการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
6. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และรางวัลพิเศษ
-ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญจักรพรรดิมาลา ปี พ.ศ.2532
-ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพาย ชั้นมหาประถมภรณ์ช้างเผือก (ม.ว.ช. ปี 2542)
-ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นนักบริหารดีเด่นประเภทข้าราชการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม จาก มูลนิธิพัฒนาสังคม เมื่อปี พ.ศ.2538
-ได้รับเข็มเกียรติคุณของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปี 2546
-ได้รับการประกาศเกียรติคุณรางวัล “เพชรสยาม” จากมหาวิทยาลัยสถาบันราชภัฏจันทรเกษม 2547
-ได้รับเกียรติบัตรเป็นศิษย์เก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในโอกาส 70 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2547
-ได้รับโล่เกียรติคุณและประกาศนียบัตรผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น จากมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ปี 2547
-ได้รับพระราชทานเหรียญกาชาดสมนาคุณชั้น 2 จากสภากาชาดไทย ปี 2547
-ได้รับโล่เชิดชูเกียรติจากสมาคมเสริมศึกษาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2547
-ได้รับเกียรติบัตรประกาศนียบัตรรางวัลชนะเลิศการตั้งชื่อมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ บริเวณชื่อ “ลานโดม” ประจำปี 2548
-ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณบุคคลดีเด่นของจังหวัดชัยนาท ในฐานะดำรงตน “ครองตน ครองคน ครองงาน” นักบริหารดีเด่นที่สร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัดชัยนาท ซึ่งถือว่าเป็นบุคคลตัวอย่าง เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2548
7. ประสบการณ์และมีความชำนาญ
1. กรรมการบัณฑิตวิทยาลัย
ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีหน้าที่อำนวยการเรียนการสอนระดับบัณฑิตวิทยาลัย (ปริญญาโท) ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
2. เป็นผู้บรรยาย (ถวายความรู้)
เป็นผู้ถวายความรู้แก่พระสงฆ์โครงการถวายความรู้พระสงฆ์ของกรรมการศาสนาทั่วประเทศ ระหว่างปี 2534-2539
เป็นผู้ถวายความรู้แก่พระสงฆ์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมไทยในการถวายความรู้ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2534-2549
เป็นผู้ถวายความรู้ในระดับปริญญาโทของสาขาธรรมนิเทศของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย 3 วิชา คือ วิชาสื่อเพื่อการสื่อสาร 2. ทฤษฎีการสื่อสาร 3. การสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจ (ตลอดปีการศึกษา 2540-2549)
3. จัดถวายความรู้พระสงฆ์ทั่วประเทศ
จัดถวายความรู้พระสงฆ์ทั่วประเทศ เพื่อส่งเสริมความรู้พระสงฆ์เกี่ยวกับ
1. กฎหมายทั่วไป พ.ร.บ. คณะสงฆ์
2. การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย มรดกไทย
3. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การพัฒนาสังคม
4. บทบาทของพระสงฆ์ในฐานะผู้นำชุมชนและสังคม
เริ่มจัดถวายความรู้ตั้งแต่ปี 2534-2549 จำนวน 126 รุ่น มีพระสงฆ์ผ่านการอบรมประมาณ 40,000 รูป ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักเสริมศึกษาและบริการสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระหว่างปี 2534-2540 และระหว่างปี 2543-2549 ซึ่งโครงการถวายความรู้พระสงฆ์จัดถวายความรู้ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เช่น จังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอุดรธานี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดสมุทรสงคราม จังหวัดสงขลา จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดลำปาง และจังหวัดเลย จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดจันทบุรี
8. การเรียนการสอน วิชาในคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. เป็นผู้บรรยายวิชาในระดับปริญญาตรี 2 วิชา คือ
-วิชาข่าววิทยุและโทรทัศน์ 1 เป็นวิชาข่าววิทยุเบื้องต้นของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ซึ่งเป็นวิชาสำคัญยิ่งของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน
-เป็นผู้บรรยายวิชาข่าววิทยุและโทรทัศน์ 2 ซึ่งเป็นวิชาบังคับในสาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์และความรู้ในการประกอบอาชีพทางด้านวิทยุและโทรทัศน์ ประกอบอาชีพเป็นนักข่าว นักเขียนข่าวและผู้รายงานข่าว รวมทั้งเป็นผู้ประกาศข่าวในวิชาสื่อสารมวลชน เป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพอย่างดียิ่ง
2. เป็นผู้บรรยายในระดับปริญญาโท บรรยายในระดับบัณฑิตศึกษาของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน วิชาสัมมนาเทคโนโลยีการสื่อสารและการเปลี่ยนแปลงสังคม และวิชาสื่อมวลชนกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ซึ่งเป็นวิชาระดมความคิดเสริมความรู้การทำงาน การนำประโยชน์ไปใช้ รวมทั้งสร้างกระบวนทัศน์ในการทำงาน เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์และการประกอบอาชีพให้เจริญก้าวหน้าตามหลักสูตรบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
9. การบรรยายสถาบันการศึกษาทั่วไป
เป็นผู้บรรยายตามสถาบันการศึกษา อาทิ สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยเอกชนทั่วไป
10. ประสบการณ์การวิจัย
งานวิจัยที่ทำแล้วเสร็จ
1. ทำวิจัยเรื่อง “การตัดสินใจในการเลือกสัญชาติของชาวจีนในกรุงเทพมหานคร” ปี 2518
2. ทำวิทยานิพนธ์เรื่อง “บทบาทของสื่อในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การวางแผนครอบครัวของประชาชน” (The Roles of Media in diffusion of family Planning Information) ได้รับเงินอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2521 จัดพิมพ์เผยแพร่ในข่าวสภาวิจัยแห่งชาติ ฉบับเดือนกันยายน 2523 และพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร วารสารศาสตร์ของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 2 เล่มที่ 1 เดือนเมษายน 2524
3. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการรับฟังของสารวิทยุกระจายเสียงและผลที่มีต่อการพัฒนาชนบท : ศึกษาเฉพาะกรณีวิทยุกระจายเสียงกองอำนวยการกลางรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ (กรป.กลาง) จังหวัดเชียงราย (Use of Broadcasting Information and its effect on rural development in a Thai Village : A Case Study of 914 Broadcastion stational security Command (NSC) in Chieng Rai) ได้รับเงินอุดหนุนจากสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2525 จัดพิมพ์เป็นเอกสารการวิจัยหมายเลข 9 สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2523 และพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร วารสารศาสตร์ ของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ปีที่ 1 เล่มที่ 1 เดือนตุลาคม 2523
4. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการรับข่าวสารของเยาวชนในชนบทและผลกระทบที่มีต่อการพัฒนาชนบท : ศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรีที่รับข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นที่จัดพิมพ์เผยแพร่ในจังหวัดชลบุรี Use of Printed Media its effect on rural development in a Thai Village : A case study of the students in secondary school and local newspaper in Chonburi) ได้รับเงินอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2523 จัดพิมพ์เผยแพร่ โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2524 และพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร “วารสารศาสตร์” ของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “ไทยรัฐ 2525” สำนักพิมพ์ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 2525 จัดพิมพ์ใน “ข่าวสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ” ปีที่ 23 ฉบับที่ 240 เดือนมิถุนายน 2525
5. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทและผลการปฏิบัติงานของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมในการเผยแพร่ ฟื้นฟู พัฒนาความคิดจิตใจและส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นต่อประชาชนในชนบท” ปีงบประมาณ 2525 ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวง ศึกษาธิการ จัดพิมพ์เผยแพร่เดือนเมษายน 2525
6. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาปัญหาและสภาพความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับประชากรนอกโรงเรียนทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท” ปีงบประมาณ 2524 ได้รับทุนอุดหนุนจากกรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ จัดพิมพ์เผยแพร่เดือน กรกฎาคม 2525
7. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาชนบท” ได้รับทุนจากสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีงบประมาณ 2526
8. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “สัมฤทธิผลทางการศึกษาและประกอบอาชีพของบัณฑิตสาขาวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนในประเทศไทย : ศึกษากรณีบัณฑิตคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” งานวิจัยสถาบัน กองแผนงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (งานวิจัยสถาบันเลขที่ 2734) พิมพ์เผยแพร่ มกราคม 2528
9. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “รูปแบบการบริหารงานวัฒนธรรมที่เหมาะสมต่อการเผยแพร่วัฒนธรรมต่อประชาชน” ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ พิมพ์เผยแพร่ เดือนธันวาคม 2529
10. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “ศึกษาการใช้สื่อในการรณรงค์เพื่ออนุรักษ์ป่าชายเลน” ได้รับทุนอุดหนุน จากสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์เผยแพร่เดือนกันยายน 2541
11. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการเปิดรับสื่อของสมาชิกและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลกับการพัฒนาชุมชนเพื่อการพึ่งพิงตนเองอย่างยั่งยืน” ปี 2543 ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์เผยแพร่ในปี 2544
12. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของสงฆ์” ปี 2544 ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์เผยแพร่ในปี 2544
13. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาบทบาทของพระสงฆ์ในการเผยแผ่ศีลธรรมต่อประชาชนทางสถานีวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย” ปี 2544 ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย พิมพ์เผยแพร่ ในปี 2545
14. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “ศึกษาพฤติกรรมการรับข่าวสารของพระสงฆ์ เพื่อการเผยแพร่และรณรงค์ไม่สูบบุหรี่แก่ประชาชนในชนบท” ปีงบประมาณ 2547 พิมพ์เผยแพร่แล้ว
15. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาพฤติกรรมการรับข่าวสารของประชาชนที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาภูมิปัญญาในการพึ่งพาตนเองเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางพระพุทธศาสนา” ได้รับทุนการวิจัยและสนับสนุนจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปี 2547 พิมพ์เผยแพร่แล้ว
16. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “ศึกษารูปแบบการบริหารและการจัดรายการวิทยุชุมชน เพื่อเสริมสร้างกระบวนการพัฒนาที่ยั่งยืน” ได้รับทุนการวิจัยและสนับสนุนจากคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี 2547 พิมพ์เผยแพร่แล้ว
17. จัดทำโครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทและความสัมพันธ์ของวัดและพระสงฆ์กับผู้สูงอายุ” ได้รับการสนับสนุนจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2548 พิมพ์เผยแพร่แล้ว
18. จัดทำโครงการวิจัยเรื่อง “การรับข่าวสารจากสื่อมวลชนของพระสังฆาธิการ เพื่อเผยแพร่และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ยั่งยืน” ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ประจำปี 2548 พิมพ์เผยแพร่เรียบร้อยแล้ว
19. จัดทำโครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นต่อการส่งเสริมความรู้ เรื่องการพัฒนาชนบทตามแนวยุทธศาสตร์ชาติ” ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2549 เริ่มดำเนินการตามโครงการ 1 ตุลาคม 2548 จะแล้วเสร็จสมบูรณ์ ภายใน 30 กันยายน 2549
20. จัดทำโครงการวิจัย อีก 3 โครงการ ปีงบประมาณ 2550
1. ชื่อ นายบำรุง ชื่อสกุล สุขพรรณ์
ปัจจุบันอยู่บ้านเลขที่ 33/1032 หมู่บ้าน ต.รวมโชค ซอยโชคชัย 4 ซอย 24 เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทร. 0-2538-1446
ที่ทำงาน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โทรศัพท์ 0-2613-2704
2. ประวัติการศึกษา
-เตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนโพฒิสารศึกษา พ.ศ.2506
-ประกาศนียบัตรวิชาการหนังสือพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2514
-วารสารศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2517
-สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2522
-ประกาศนียบัตรการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยทุนสหประชาชาติ ณ กรุงมนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ค.ศ.1984 (ทุน UNDP.)
-ศึกษาดูงานประเทศต่าง ๆ ด้านสื่อสารมวลชน สิ่งแวดล้อม ศิลปวัฒนธรรม และการศึกษาดังนี้
-สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน เมืองปักกิ่ง เมืองคุณหมิง เมืองเซี่ยงไฮ้ เมืองฮ่องกง เมืองกุ้ยหลิน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน (ไต้หวัน)
สาธารณรัฐเยอรมัน เดนมาร์ค ฟินแลนด์ ออสเตรีย ประชาธิปไตย ประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ)
สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี (เกาหลีใต้)
สาธาณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)
สาธารณรัฐประชาชนเวียดนาม เซี่ยงไฮ้ ออสเตรเลีย เป็นต้น เพิ่มความรู้ประสบการณ์การบริหารและการจัดการให้มีประสิทธิภาพการเรียนการสอนอย่างดียิ่ง
3. ตำแหน่งปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
4. ตำแหน่งบริหาร ในอดีตดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักเสริมศึกษา และบริการสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4 สมัย
-สมัยที่ 1 2534-2537
-สมัยที่ 2 2537-2540
-สมัยที่ 3 2543-2545
-สมัยที่ 4 2546-14 พฤษภาคม 2549
บริหารงานและจัดการฝึกอบรม มุ่งผลงานเป็นสำคัญ “ผลงานก้าวหน้า พัฒนามวลชน ก้าวไกลเสริมศึกษา : มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อมวลชน”
5. ผลงานด้านการบรรยายและตำแหน่งวิชาการ
-รองศาสตราจารย์ ในคณะวารสารศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2526
-ผู้ช่วยศาสตราจารย์ในคณะวารสารศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2523
-อาจารย์ประจำ ในคณะวารสารศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.2517
(เริ่มรับราชการ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2507 สังกัดกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย โอนมารับราชการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี พ.ศ.2513 สังกัดกองห้องสมุด สำนักงานเลขาธิการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
6. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และรางวัลพิเศษ
-ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญจักรพรรดิมาลา ปี พ.ศ.2532
-ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพาย ชั้นมหาประถมภรณ์ช้างเผือก (ม.ว.ช. ปี 2542)
-ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นนักบริหารดีเด่นประเภทข้าราชการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม จาก มูลนิธิพัฒนาสังคม เมื่อปี พ.ศ.2538
-ได้รับเข็มเกียรติคุณของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปี 2546
-ได้รับการประกาศเกียรติคุณรางวัล “เพชรสยาม” จากมหาวิทยาลัยสถาบันราชภัฏจันทรเกษม 2547
-ได้รับเกียรติบัตรเป็นศิษย์เก่าดีเด่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในโอกาส 70 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2547
-ได้รับโล่เกียรติคุณและประกาศนียบัตรผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น จากมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ปี 2547
-ได้รับพระราชทานเหรียญกาชาดสมนาคุณชั้น 2 จากสภากาชาดไทย ปี 2547
-ได้รับโล่เชิดชูเกียรติจากสมาคมเสริมศึกษาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2547
-ได้รับเกียรติบัตรประกาศนียบัตรรางวัลชนะเลิศการตั้งชื่อมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ บริเวณชื่อ “ลานโดม” ประจำปี 2548
-ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณบุคคลดีเด่นของจังหวัดชัยนาท ในฐานะดำรงตน “ครองตน ครองคน ครองงาน” นักบริหารดีเด่นที่สร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัดชัยนาท ซึ่งถือว่าเป็นบุคคลตัวอย่าง เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2548
7. ประสบการณ์และมีความชำนาญ
1. กรรมการบัณฑิตวิทยาลัย
ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีหน้าที่อำนวยการเรียนการสอนระดับบัณฑิตวิทยาลัย (ปริญญาโท) ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
2. เป็นผู้บรรยาย (ถวายความรู้)
เป็นผู้ถวายความรู้แก่พระสงฆ์โครงการถวายความรู้พระสงฆ์ของกรรมการศาสนาทั่วประเทศ ระหว่างปี 2534-2539
เป็นผู้ถวายความรู้แก่พระสงฆ์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมไทยในการถวายความรู้ของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2534-2549
เป็นผู้ถวายความรู้ในระดับปริญญาโทของสาขาธรรมนิเทศของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย 3 วิชา คือ วิชาสื่อเพื่อการสื่อสาร 2. ทฤษฎีการสื่อสาร 3. การสื่อสารเพื่อโน้มน้าวใจ (ตลอดปีการศึกษา 2540-2549)
3. จัดถวายความรู้พระสงฆ์ทั่วประเทศ
จัดถวายความรู้พระสงฆ์ทั่วประเทศ เพื่อส่งเสริมความรู้พระสงฆ์เกี่ยวกับ
1. กฎหมายทั่วไป พ.ร.บ. คณะสงฆ์
2. การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย มรดกไทย
3. การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การพัฒนาสังคม
4. บทบาทของพระสงฆ์ในฐานะผู้นำชุมชนและสังคม
เริ่มจัดถวายความรู้ตั้งแต่ปี 2534-2549 จำนวน 126 รุ่น มีพระสงฆ์ผ่านการอบรมประมาณ 40,000 รูป ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักเสริมศึกษาและบริการสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระหว่างปี 2534-2540 และระหว่างปี 2543-2549 ซึ่งโครงการถวายความรู้พระสงฆ์จัดถวายความรู้ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เช่น จังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดอุดรธานี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดสมุทรสงคราม จังหวัดสงขลา จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดลำปาง และจังหวัดเลย จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดจันทบุรี
8. การเรียนการสอน วิชาในคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
1. เป็นผู้บรรยายวิชาในระดับปริญญาตรี 2 วิชา คือ
-วิชาข่าววิทยุและโทรทัศน์ 1 เป็นวิชาข่าววิทยุเบื้องต้นของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ซึ่งเป็นวิชาสำคัญยิ่งของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน
-เป็นผู้บรรยายวิชาข่าววิทยุและโทรทัศน์ 2 ซึ่งเป็นวิชาบังคับในสาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์และความรู้ในการประกอบอาชีพทางด้านวิทยุและโทรทัศน์ ประกอบอาชีพเป็นนักข่าว นักเขียนข่าวและผู้รายงานข่าว รวมทั้งเป็นผู้ประกาศข่าวในวิชาสื่อสารมวลชน เป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพอย่างดียิ่ง
2. เป็นผู้บรรยายในระดับปริญญาโท บรรยายในระดับบัณฑิตศึกษาของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน วิชาสัมมนาเทคโนโลยีการสื่อสารและการเปลี่ยนแปลงสังคม และวิชาสื่อมวลชนกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ซึ่งเป็นวิชาระดมความคิดเสริมความรู้การทำงาน การนำประโยชน์ไปใช้ รวมทั้งสร้างกระบวนทัศน์ในการทำงาน เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์และการประกอบอาชีพให้เจริญก้าวหน้าตามหลักสูตรบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
9. การบรรยายสถาบันการศึกษาทั่วไป
เป็นผู้บรรยายตามสถาบันการศึกษา อาทิ สถาบันราชภัฏ และมหาวิทยาลัยเอกชนทั่วไป
10. ประสบการณ์การวิจัย
งานวิจัยที่ทำแล้วเสร็จ
1. ทำวิจัยเรื่อง “การตัดสินใจในการเลือกสัญชาติของชาวจีนในกรุงเทพมหานคร” ปี 2518
2. ทำวิทยานิพนธ์เรื่อง “บทบาทของสื่อในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การวางแผนครอบครัวของประชาชน” (The Roles of Media in diffusion of family Planning Information) ได้รับเงินอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2521 จัดพิมพ์เผยแพร่ในข่าวสภาวิจัยแห่งชาติ ฉบับเดือนกันยายน 2523 และพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร วารสารศาสตร์ของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 2 เล่มที่ 1 เดือนเมษายน 2524
3. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการรับฟังของสารวิทยุกระจายเสียงและผลที่มีต่อการพัฒนาชนบท : ศึกษาเฉพาะกรณีวิทยุกระจายเสียงกองอำนวยการกลางรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ (กรป.กลาง) จังหวัดเชียงราย (Use of Broadcasting Information and its effect on rural development in a Thai Village : A Case Study of 914 Broadcastion stational security Command (NSC) in Chieng Rai) ได้รับเงินอุดหนุนจากสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2525 จัดพิมพ์เป็นเอกสารการวิจัยหมายเลข 9 สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2523 และพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร วารสารศาสตร์ ของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ปีที่ 1 เล่มที่ 1 เดือนตุลาคม 2523
4. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการรับข่าวสารของเยาวชนในชนบทและผลกระทบที่มีต่อการพัฒนาชนบท : ศึกษาเฉพาะกรณีนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดชลบุรีที่รับข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นที่จัดพิมพ์เผยแพร่ในจังหวัดชลบุรี Use of Printed Media its effect on rural development in a Thai Village : A case study of the students in secondary school and local newspaper in Chonburi) ได้รับเงินอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2523 จัดพิมพ์เผยแพร่ โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2524 และพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร “วารสารศาสตร์” ของคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “ไทยรัฐ 2525” สำนักพิมพ์ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ 2525 จัดพิมพ์ใน “ข่าวสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ” ปีที่ 23 ฉบับที่ 240 เดือนมิถุนายน 2525
5. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทและผลการปฏิบัติงานของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมในการเผยแพร่ ฟื้นฟู พัฒนาความคิดจิตใจและส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นต่อประชาชนในชนบท” ปีงบประมาณ 2525 ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวง ศึกษาธิการ จัดพิมพ์เผยแพร่เดือนเมษายน 2525
6. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาปัญหาและสภาพความต้องการของกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับประชากรนอกโรงเรียนทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท” ปีงบประมาณ 2524 ได้รับทุนอุดหนุนจากกรมการศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ จัดพิมพ์เผยแพร่เดือน กรกฎาคม 2525
7. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาชนบท” ได้รับทุนจากสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีงบประมาณ 2526
8. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “สัมฤทธิผลทางการศึกษาและประกอบอาชีพของบัณฑิตสาขาวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชนในประเทศไทย : ศึกษากรณีบัณฑิตคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” งานวิจัยสถาบัน กองแผนงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (งานวิจัยสถาบันเลขที่ 2734) พิมพ์เผยแพร่ มกราคม 2528
9. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “รูปแบบการบริหารงานวัฒนธรรมที่เหมาะสมต่อการเผยแพร่วัฒนธรรมต่อประชาชน” ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ พิมพ์เผยแพร่ เดือนธันวาคม 2529
10. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “ศึกษาการใช้สื่อในการรณรงค์เพื่ออนุรักษ์ป่าชายเลน” ได้รับทุนอุดหนุน จากสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์เผยแพร่เดือนกันยายน 2541
11. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “พฤติกรรมการเปิดรับสื่อของสมาชิกและเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบลกับการพัฒนาชุมชนเพื่อการพึ่งพิงตนเองอย่างยั่งยืน” ปี 2543 ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์เผยแพร่ในปี 2544
12. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของสงฆ์” ปี 2544 ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พิมพ์เผยแพร่ในปี 2544
13. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาบทบาทของพระสงฆ์ในการเผยแผ่ศีลธรรมต่อประชาชนทางสถานีวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย” ปี 2544 ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย พิมพ์เผยแพร่ ในปี 2545
14. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “ศึกษาพฤติกรรมการรับข่าวสารของพระสงฆ์ เพื่อการเผยแพร่และรณรงค์ไม่สูบบุหรี่แก่ประชาชนในชนบท” ปีงบประมาณ 2547 พิมพ์เผยแพร่แล้ว
15. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาพฤติกรรมการรับข่าวสารของประชาชนที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาภูมิปัญญาในการพึ่งพาตนเองเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางพระพุทธศาสนา” ได้รับทุนการวิจัยและสนับสนุนจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประจำปี 2547 พิมพ์เผยแพร่แล้ว
16. ทำโครงการวิจัยเรื่อง “ศึกษารูปแบบการบริหารและการจัดรายการวิทยุชุมชน เพื่อเสริมสร้างกระบวนการพัฒนาที่ยั่งยืน” ได้รับทุนการวิจัยและสนับสนุนจากคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี 2547 พิมพ์เผยแพร่แล้ว
17. จัดทำโครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทและความสัมพันธ์ของวัดและพระสงฆ์กับผู้สูงอายุ” ได้รับการสนับสนุนจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2548 พิมพ์เผยแพร่แล้ว
18. จัดทำโครงการวิจัยเรื่อง “การรับข่าวสารจากสื่อมวลชนของพระสังฆาธิการ เพื่อเผยแพร่และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ยั่งยืน” ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ประจำปี 2548 พิมพ์เผยแพร่เรียบร้อยแล้ว
19. จัดทำโครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทของหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นต่อการส่งเสริมความรู้ เรื่องการพัฒนาชนบทตามแนวยุทธศาสตร์ชาติ” ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2549 เริ่มดำเนินการตามโครงการ 1 ตุลาคม 2548 จะแล้วเสร็จสมบูรณ์ ภายใน 30 กันยายน 2549
20. จัดทำโครงการวิจัย อีก 3 โครงการ ปีงบประมาณ 2550
ดร.ประมูล สารพันธ์
ประวัติผู้ทรงคุณวุฒิ
1. ชื่อ ดร.ประมูล สารพันธ์ หัวหน้าโครงการวิจัย
(Dr.pramool Sarabantha)
2. ตำแหน่งปัจจุบัน : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย
สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
3. ประวัติการศึกษา
พธ.บ.(พุทธศาสตร์บัณฑิต)
ครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
1. ชื่อ ดร.ประมูล สารพันธ์ หัวหน้าโครงการวิจัย
(Dr.pramool Sarabantha)
2. ตำแหน่งปัจจุบัน : ผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย
สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
3. ประวัติการศึกษา
พธ.บ.(พุทธศาสตร์บัณฑิต)
ครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
M.Ed. (Education)
Measurement and Evaluation in Education
M.S.university of baroda
India
Measurement and Evaluation in Education
M.S.university of baroda
India
Ph.D (Education) Doctor of Philosophy
M.S. university of baroda
India
4. สาขาวิชาที่มี่ความชำนาญเป็นพิเศษ
- การวัดและประเมินผลการศึกษา
- การวิจัยการศึกษา
- หลักสูตรและการสอน
5. ประสบการณ์ในการทำงาน
5.1 อาจารย์โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา
5.2 นักวิชาการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
5.3 หัวหน้าสำนักงานการศึกษาหลังปริญญา คณะเวชศาสตร์เขตร้อนมหาวิทยาลัยมหิดล
5.4 อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
5.5 อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
6. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในภายนอกประเทศงานวิจัยที่ทำสำเร็จแล้วและกำลังดำเนินการมีดังนี้
6.1 การประเมินผลหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตอายุรศาสตร์เขตร้อนและสุขวิทยา(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.2 การติดตามผลผู้สำเร็จหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตอายุรศาสตร์เขตร้อนมหาวิทยาลัยมหิดล
(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.3 การศึกษาประสิทธิภาพทางการศึกษาของคณะเวชศาสตร์เขตร้อนของมหาวิทยาลัยมหิดล(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.4 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่างประเทศที่มีต่อหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)
ของมหาวิทยาลัยมหิดล(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.5 การศึกษาประสิทธิภาพทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรราชวิทยาลัยทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต (เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.6 การศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในกำกับของรัฐบาล ศึกษากรณีมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.7 การศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.8 การสอนวิชาพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมและเจตคติเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.9 การศึกษาและพัฒนาจริยธรรมของนักเรียนและนิสิตนักศึกษา (กำลังดำเนินการวิจัยปีงบประมาณ2548 –เป็นผู้อำนวยการโครงการวิจัย)
6.10 ได้รับเชิญจากมหาวิทยาลัยอินดอร์(Indore)ประเทศอินเดียให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกอ่านวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกทางการศึกษาเรื่อง “Strategy of Developing Creativity of University Student of Thailand”(ปี2545)
6.11 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลคุณภาพรายงานการวิจัยเพื่อลงพิมพ์ในวารสารสมาคมนักวิจัยในความอุปถัมภ์ของสภาวิจัยแห่งชาติ
M.S. university of baroda
India
4. สาขาวิชาที่มี่ความชำนาญเป็นพิเศษ
- การวัดและประเมินผลการศึกษา
- การวิจัยการศึกษา
- หลักสูตรและการสอน
5. ประสบการณ์ในการทำงาน
5.1 อาจารย์โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา
5.2 นักวิชาการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
5.3 หัวหน้าสำนักงานการศึกษาหลังปริญญา คณะเวชศาสตร์เขตร้อนมหาวิทยาลัยมหิดล
5.4 อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
5.5 อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
6. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัยทั้งภายในภายนอกประเทศงานวิจัยที่ทำสำเร็จแล้วและกำลังดำเนินการมีดังนี้
6.1 การประเมินผลหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตอายุรศาสตร์เขตร้อนและสุขวิทยา(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.2 การติดตามผลผู้สำเร็จหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตอายุรศาสตร์เขตร้อนมหาวิทยาลัยมหิดล
(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.3 การศึกษาประสิทธิภาพทางการศึกษาของคณะเวชศาสตร์เขตร้อนของมหาวิทยาลัยมหิดล(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.4 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่างประเทศที่มีต่อหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนานาชาติ)
ของมหาวิทยาลัยมหิดล(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.5 การศึกษาประสิทธิภาพทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรราชวิทยาลัยทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต (เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.6 การศึกษาสภาพการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในกำกับของรัฐบาล ศึกษากรณีมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.7 การศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.8 การสอนวิชาพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมและเจตคติเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา(เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย)
6.9 การศึกษาและพัฒนาจริยธรรมของนักเรียนและนิสิตนักศึกษา (กำลังดำเนินการวิจัยปีงบประมาณ2548 –เป็นผู้อำนวยการโครงการวิจัย)
6.10 ได้รับเชิญจากมหาวิทยาลัยอินดอร์(Indore)ประเทศอินเดียให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกอ่านวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกทางการศึกษาเรื่อง “Strategy of Developing Creativity of University Student of Thailand”(ปี2545)
6.11 เป็นผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลคุณภาพรายงานการวิจัยเพื่อลงพิมพ์ในวารสารสมาคมนักวิจัยในความอุปถัมภ์ของสภาวิจัยแห่งชาติ
พระศรีสิทธิมุนี
ประวัติผู้ทรงคุณวุฒิ
1. ชื่อ ภาษาไทย พระศรีสิทธิมุนี (พล อาภากโร)
ภาษาอังกฤษ PRASRISITTHIMUNEE
2. รหัสประจำตัวนักวิจัยแห่งชาติ
3. ตำแหน่งปัจจุบัน คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ท่าพระจันทร์ พระนคร กรุงเทพฯ 10200
4. หน่วยงานที่ติดต่อได้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ท่าพระจันทร์ พระนคร กรุงเทพฯ 10200
5. ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
M.A. (Linguistics) University of Delhi
Ph.D. (Linguistics) University of Delhi
6. สาขาวิชาที่มีความชำนาญ
อักษรศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษและพระพุทธศาสนา
7. ประสบการณ์
- ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย
- อาจารย์สอน English Program โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา
- อาจารย์สอนวิชาพระพุทธศาสนาโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา
- อาจารย์สอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- อาจารย์สอนระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- ผู้อำนวยการกองวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- ตำราวิชาการอื่น ๆ
1. ชื่อ ภาษาไทย พระศรีสิทธิมุนี (พล อาภากโร)
ภาษาอังกฤษ PRASRISITTHIMUNEE
2. รหัสประจำตัวนักวิจัยแห่งชาติ
3. ตำแหน่งปัจจุบัน คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ท่าพระจันทร์ พระนคร กรุงเทพฯ 10200
4. หน่วยงานที่ติดต่อได้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ท่าพระจันทร์ พระนคร กรุงเทพฯ 10200
5. ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
M.A. (Linguistics) University of Delhi
Ph.D. (Linguistics) University of Delhi
6. สาขาวิชาที่มีความชำนาญ
อักษรศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษและพระพุทธศาสนา
7. ประสบการณ์
- ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย
- อาจารย์สอน English Program โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา
- อาจารย์สอนวิชาพระพุทธศาสนาโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา
- อาจารย์สอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- อาจารย์สอนระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- ผู้อำนวยการกองวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- ตำราวิชาการอื่น ๆ
พระวิสุทธิภัทรธาดา
ประวัติผู้ทรงคุณวุฒิ
1. ชื่อ ภาษาไทย พระวิสุทธิภัทรธาดา
(ประสิทธิ์ พฺรหมฺรํสี)
ภาษาอังกฤษ PRAVISUTTHIBHATRATADA
2. รหัสประจำตัวนักวิจัยแห่งชาติ
3. ตำแหน่งปัจจุบัน รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร
4. หน่วยงานที่ติดต่อได้ กองกลาง สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ-
ราชวิทยาลัย ท่าพระจันทร์ พระนคร กรุงเทพฯ 10200
5. ประวัติการศึกษา
เปรียญธรรม 5 ประโยค
ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย
M.A. (Philosophy) University of India
Ph.D. (Philosophy) University of India
6. สาขาวิชาที่มีความชำนาญ
พระพุทธศาสนาและปรัชญา
7. ประสบการณ์
- อาจารย์ผู้ควบคุม ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย
- อาจารย์สอนระดับปริญญาตรี
- อาจารย์ประจำคณะพุทธศาสตร์
- อาจารย์สอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญ
- เลขานุการเจ้าคณะภาค 2
- รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา
- รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร
- ตำราวิชาการอื่น ๆ
พระมหาเจิม สุวโจ
ประวัติผู้ทรงคุณวุฒิ
๑. ชื่อ-ฉายา/นามสกุล พระมหาเจิม ฉายา สุวโจ นามสกุล สุกรรณ์
๒. สถานที่เกิด เกิดเมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๐ ณ บ้านบุเปือย ต.บุเปือย อ.น้ำยืน (ตำบลยาง อำเภอเดชอุดม) จ.อุบลราชธานี
๓. สังกัดวัด วัดนายโรง ถนนจรัญสนิทวงศ์ ๔๕ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพ ๑๐๒๐๐ โทร ๐ - ๒๘๘๔ - ๕๒๐๘
๔. บรรพชา/อุปสมบท บรรพชา เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ณ วัดบ้านบุเปือย โดยมี เจ้าอธิการจันดี โกวิโท (สมณศักดิ์สุดท้ายที่ พระครูสารธรรมโกวิท เจ้าคณะอำเภอน้ำยืน) เป็นพระอุปัชฌาย์ และอุปสมบทเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ พัทธสีมาวัดบ้านบุเปือย
๕. การศึกษา นักธรรมชั้นเอก, เปรียญธรรม ๓ ประโยค, ประโยคครูพิเศษมัธยม (พ.ม.), และพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา(พธ.ม.) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๖. ตำแหน่งปัจจุบัน
- ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๗. ประสบการณ์
- อดีตผู้อำนวยการสำนักงานบริหาร สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- อดีตรักษาผู้อำนวยการส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- รองประธานมูลนิธิกลุ่มแสงเทียน : คนหนุ่มสาวเพื่อการพัฒนาเด็กด้อยโอกาส (ถึงปัจจุบัน)
- กรรมการที่ปรึกษาสถาบันวิถีทัศน์ และมูลนิธิวิถีทัศน์ โดยการสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนการวิจัย หรือ สกว (ถึงปัจจุบัน)
- คณะทำงาน”สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระดับมัธยมศึกษา” ในหลักสูตรใหม่ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
๘. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
- โครงการวิจัยการศึกษาของคณะสงฆ์ ๒๕๒๙ (หัวหน้า)
- โครงการวิจัยทัศนคติของพระวิทยากรที่มีต่อโครงการอบรมและพัฒนาเยาวชนภาคฤูร้อน ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ (หัวหน้า)
- โครงการวิจัยประเมินผลการปฏิบัติศาสนกิจของพุทธศาสตรบัณฑิต ปี ๒๕๓๗ (หัวหน้า)
- โครงการวิจัยการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๙ (หัวหน้า)
- โครงการวิจัยและพัฒนาประชาสังคม ว่าด้วยอุดมการณ์ทางพระพุทธศาสนาด้านประชาสังคม พ.ศ. ๒๕๔๐ (ผู้ร่วมทีม)
- กรรมการควบคุมงานวิจัยของคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึง ปัจจุบัน
- โครงการวิจัย”แนวทางการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี สามัญศึกษา และมหาวิทยาลัยสงฆ์” ๒๕๔๕ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ/หัวหน้า )
- โครงการวิจัย “บทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาชุมชน : ศึกษากรณีพระสงฆ์ในอำเภอเมือง จังหวัดตราด “ (ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ)
- กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตให้แก่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เป็นที่ปรึกษาหัวข้อการเขียนโครงการวิจัย และตรวจรายงานการวิจัย
(ถึงปัจจุบัน)
๑. ชื่อ-ฉายา/นามสกุล พระมหาเจิม ฉายา สุวโจ นามสกุล สุกรรณ์
๒. สถานที่เกิด เกิดเมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๐ ณ บ้านบุเปือย ต.บุเปือย อ.น้ำยืน (ตำบลยาง อำเภอเดชอุดม) จ.อุบลราชธานี
๓. สังกัดวัด วัดนายโรง ถนนจรัญสนิทวงศ์ ๔๕ แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพ ๑๐๒๐๐ โทร ๐ - ๒๘๘๔ - ๕๒๐๘
๔. บรรพชา/อุปสมบท บรรพชา เมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ณ วัดบ้านบุเปือย โดยมี เจ้าอธิการจันดี โกวิโท (สมณศักดิ์สุดท้ายที่ พระครูสารธรรมโกวิท เจ้าคณะอำเภอน้ำยืน) เป็นพระอุปัชฌาย์ และอุปสมบทเมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ พัทธสีมาวัดบ้านบุเปือย
๕. การศึกษา นักธรรมชั้นเอก, เปรียญธรรม ๓ ประโยค, ประโยคครูพิเศษมัธยม (พ.ม.), และพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา(พธ.ม.) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๖. ตำแหน่งปัจจุบัน
- ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๗. ประสบการณ์
- อดีตผู้อำนวยการสำนักงานบริหาร สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- อดีตรักษาผู้อำนวยการส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- รองประธานมูลนิธิกลุ่มแสงเทียน : คนหนุ่มสาวเพื่อการพัฒนาเด็กด้อยโอกาส (ถึงปัจจุบัน)
- กรรมการที่ปรึกษาสถาบันวิถีทัศน์ และมูลนิธิวิถีทัศน์ โดยการสนับสนุนจากกองทุนสนับสนุนการวิจัย หรือ สกว (ถึงปัจจุบัน)
- คณะทำงาน”สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระดับมัธยมศึกษา” ในหลักสูตรใหม่ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
๘. ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
- โครงการวิจัยการศึกษาของคณะสงฆ์ ๒๕๒๙ (หัวหน้า)
- โครงการวิจัยทัศนคติของพระวิทยากรที่มีต่อโครงการอบรมและพัฒนาเยาวชนภาคฤูร้อน ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ (หัวหน้า)
- โครงการวิจัยประเมินผลการปฏิบัติศาสนกิจของพุทธศาสตรบัณฑิต ปี ๒๕๓๗ (หัวหน้า)
- โครงการวิจัยการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๙ (หัวหน้า)
- โครงการวิจัยและพัฒนาประชาสังคม ว่าด้วยอุดมการณ์ทางพระพุทธศาสนาด้านประชาสังคม พ.ศ. ๒๕๔๐ (ผู้ร่วมทีม)
- กรรมการควบคุมงานวิจัยของคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทั้งส่วนกลางและวิทยาเขต ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๒ ถึง ปัจจุบัน
- โครงการวิจัย”แนวทางการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี สามัญศึกษา และมหาวิทยาลัยสงฆ์” ๒๕๔๕ (ทุนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ/หัวหน้า )
- โครงการวิจัย “บทบาทพระสงฆ์กับการพัฒนาชุมชน : ศึกษากรณีพระสงฆ์ในอำเภอเมือง จังหวัดตราด “ (ทุนสภาวิจัยแห่งชาติ)
- กรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตให้แก่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เป็นที่ปรึกษาหัวข้อการเขียนโครงการวิจัย และตรวจรายงานการวิจัย
(ถึงปัจจุบัน)
วันพุธที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
The Roles and Participation of B.A.(Buddhism)Graduates inEconomic Community Development : A Case study of the Fund of Village in Communi
Research Title: The Roles and Participation of B.A.(Buddhism)
Graduates inEconomic Community Development : A Case study of the Fund of Village in Community of Muang Loei Changwat Loei
Researchers: PhramahaChakkapan Mahaviro PhramahaLikhit Ratanarangsri Mr. Thongchai Singudom Mr. Chatchawan Chammanee
Department: Mahachulalongkornrajavidyalaya University,
Loei Sangka Collage
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The objectives of this research is to study the roles of B.A. (Buddhism) graduates in developing the village fund in community Muang Loei District, Changwat Loei. The sample consisted of 30 B..A. (Buddhism) graduates, 40 steering committees and 20 subcommittees. The research tools were structured and non–structured interviews, the video tape record and tape record. The obtained data were analyzed by content analysis.
The research findings were as follows :
The roles played most by the monks in participating in developing the village fund of Muang Loei community were the preaching and training the members to have virtues of harmony, liberality and saving. For the problems and obstacles in economic development, it was found that the B.A. (Buddhism) graduates who studies at Loei Sangha college came from different provinces of the country and after their studies, they left the monk hood or went back to their hometown causing discontinuation in developing the temples and communities. The ways of problem solving was that there must be more study and the exchanges of knowledge among the graduates and the village fund committees including the members of the village fund. Also, the graduates should understand the principles of Buddhist teaching which are important to the administration of the village fund, especially in terms of economy. They should train the members of community to understand the importance of harmony, liberality and economy which will bring the system of sufficient economy to the community in the future.
บบทบาทของพระพุทธศาสตรบัณฑิตวิทยาลัยสงฆ์เลยกับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนด้านเศรษฐกิจ : ศึกษากรณีกองทุนหมู่บ้านในชุมชนเมืองเลย จังหวัดเลย
ชื่อรายงานการวิจัย:บทบาทของพระพุทธศาสตรบัณฑิตวิทยาลัยสงฆ์เลยกับการมีส่วนร่วม ในการพัฒนาชุมชนด้านเศรษฐกิจ : ศึกษากรณีกองทุนหมู่บ้าน ในชุมชนเมืองเลย จังหวัดเลย
ผู้วิจัย: พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร พระมหาลิขิต รตนรํสี
นายธงชัย สิงอุดม นายชัชวาล ฉ่ำมะณี
ส่วนงาน: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย
วัดศรีวิชัยวนาราม จังหวัดเลย
ปีงบประมาณ: ๒๕๔๘
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มุ่งศึกษาบทบาทของพระพุทธศาสตรบัณฑิตของวิทยาลัยสงฆ์เลยในการมีส่วนร่วมในการพัฒนากองทุนหมู่บ้านในชุมชนเมืองเลย และเพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในการมีส่วนร่วมของพระพุทธศาสตรบัณฑิตในการพัฒนากองทุนหมู่บ้านในชุมชนเมืองเลย พร้อมกับมีการเสนอแนะและแนวทางแก้ใขปัญหาอุปสรรคดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยพระพุทธศาสตรบัณฑิต ๓๐ รูป คณะกรรมการบริหารกองทุน ๔๐ คน และคณะอนุกรรมการสนับสนุนละติดตามการดำเนินงานกองทุนระดับอำเภอ ๒๐ คน ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ในเชิงพรรณนาโวหาร
ผลการวิจัยพบว่า พระพุทธศาสตรบัณฑิตวิทยาลัยสงฆ์เลยมีบทบาทในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนกองทุนหมู่บ้านในชุมชนเมืองเลยมากที่สุด คือการเทศนา การอบรมด้านคุณธรรมแก่สมาชิกของกองทุนให้รู้จักความสามัคคี ความเสียสละ การประหยัดเก็บออม ส่วนปัญหาและอุปสรรคของพระพุทธศาสตรบัณฑิตที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ คือพระบัณฑิตที่เข้ามาศึกษาในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ส่วนมากจะมาจากต่างจังหวัด พอจบการศึกษาแล้วก็จะลาสิกขาหรือกลับไปจำพรรษาอยู่ที่ภูมิลำเนาของตนเอง จึงทำให้การพัฒนาวัดกับชุมชนขาดความต่อเนื่อง แนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในบทบาทของพระบัณฑิตวิทยาลัยสงฆ์เลยกับการเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนด้านเศรษฐกิจ จะต้องมีการเข้าไปศึกษาและแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างพระพุทธศาสตรบัณฑิตและคณะกรรมการบริหารกองทุน และสมาชิกกองทุนให้มากกว่านี้ และพระพุทธศาสตรบัณฑิตจะต้องเข้าใจในหลักธรรมที่มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการกองทุนโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ อบรมสมาชิกและชุมชนให้เข้าใจถึงความสามัคคี ความเสียสละ รู้จักประหยัดอดออม อันจะนำมาซึ่งระบบเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดขึ้นในชุมชนต่อไป
Lecturers and students’ satisfaction studies about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campu
Research Title : Lecturers and students’ satisfaction studies about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University,
Nakhon Ratchasima Campus.
Researcher: Phramaha Pairote Kanako and Others
Department: Mahachulalongkornrajavidyalaya University,
Nakhon Ratchasima Campus.
Fiscal Year: B.E. 2548
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
This research was to
(1) study lecturers’ and students’ satisfaction about the
service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus.
(2) compare lecturers’ and students’s satisfaction about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima campus and
(3) compare students’s satisfaction about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus. The sample groups consisted of 256 lecturers and students from Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus. Research tools were 2 copies of 5-rating scale questionnaires. Data analysis was done through completed computer programs. Frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, t-test and one way ANOVA were used for statistic analysis.
The finding of the study were as follows:
1. Lecturers’ satisfaction about the service of departments under
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus was average. Nakhon Ratchasima Sangha Colleges got the highest point. Academic department and offices of Nakhon Ratchasima Campus came second. About Nakhon Ratchasima Sangha Colleges , certificate curriculum was most satisfied. Teachers’ instructional hours were satisfied second. According to academic department, disciplines and properness of library were most satisfied. Grouping of books and searching comfort came second. According to Office of Nakhon Ratchasima Campus, facility on cooperation with both external and internal departments was most satisfied. Services of meeting room were considered second.
2. According to satisfaction about the service of departments under
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus, lecturers’ and students’ average satisfaction about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus, showed a statistically significant difference at .05 level. According to separate consideration, students’ satisfaction about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus and academic affair showed a statistically significant difference at .05 level.
3. Students’ satisfaction about the service of departments under
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus, was average. According to each deaprtment, Nakhon Ratchasima Sangha Colleges got the highest point. Academic department and offices of Nakhon Ratchasima Campus came second. Students’ examination schedule, examination room, testing committees, disciplines and properness of library, library service and students’ information were second satisfied.
4. According to satisfaction about the service of academic departments under
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus, satisfaction of year 1-4 students showed a statistically significant difference at .05 level. According to each pair, there was no different satisfaction of year 1-4 students.
5. Satisfaction of students under the faculty of Buddhism, education, humanity and social sciences about the service showed a statistically significant difference at .05 level. However, according to each pair, there was no different satisfaction of students from the faculty of Buddhism, education, humanity and social sciences.
Nakhon Ratchasima Campus.
Researcher: Phramaha Pairote Kanako and Others
Department: Mahachulalongkornrajavidyalaya University,
Nakhon Ratchasima Campus.
Fiscal Year: B.E. 2548
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
This research was to
(1) study lecturers’ and students’ satisfaction about the
service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus.
(2) compare lecturers’ and students’s satisfaction about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima campus and
(3) compare students’s satisfaction about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus. The sample groups consisted of 256 lecturers and students from Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus. Research tools were 2 copies of 5-rating scale questionnaires. Data analysis was done through completed computer programs. Frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, t-test and one way ANOVA were used for statistic analysis.
The finding of the study were as follows:
1. Lecturers’ satisfaction about the service of departments under
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus was average. Nakhon Ratchasima Sangha Colleges got the highest point. Academic department and offices of Nakhon Ratchasima Campus came second. About Nakhon Ratchasima Sangha Colleges , certificate curriculum was most satisfied. Teachers’ instructional hours were satisfied second. According to academic department, disciplines and properness of library were most satisfied. Grouping of books and searching comfort came second. According to Office of Nakhon Ratchasima Campus, facility on cooperation with both external and internal departments was most satisfied. Services of meeting room were considered second.
2. According to satisfaction about the service of departments under
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus, lecturers’ and students’ average satisfaction about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus, showed a statistically significant difference at .05 level. According to separate consideration, students’ satisfaction about the service of departments under Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus and academic affair showed a statistically significant difference at .05 level.
3. Students’ satisfaction about the service of departments under
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus, was average. According to each deaprtment, Nakhon Ratchasima Sangha Colleges got the highest point. Academic department and offices of Nakhon Ratchasima Campus came second. Students’ examination schedule, examination room, testing committees, disciplines and properness of library, library service and students’ information were second satisfied.
4. According to satisfaction about the service of academic departments under
Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Ratchasima Campus, satisfaction of year 1-4 students showed a statistically significant difference at .05 level. According to each pair, there was no different satisfaction of year 1-4 students.
5. Satisfaction of students under the faculty of Buddhism, education, humanity and social sciences about the service showed a statistically significant difference at .05 level. However, according to each pair, there was no different satisfaction of students from the faculty of Buddhism, education, humanity and social sciences.
การศึกษาความพึงพอใจของอาจารย์และนิสิตต่อการให้บริการของ ส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา
ชื่อรายงานการวิจัย : การศึกษาความพึงพอใจของอาจารย์และนิสิตต่อการให้บริการของ
ส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
นครราชสีมา
ผู้วิจัย : พระมหาไพโรจน์ กนโก และคณะ
หน่วยงาน : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา
ปีงบประมาณ : 2548
ทุนอุดหนุนการวิจัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของอาจารย์และนิสิตต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของอาจารย์กับนิสิตต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนิสิตต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา แยกตามคณะที่ศึกษาและระดับชั้นปี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ อาจารย์และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา จำนวน 256 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า ชนิด 5 ระดับ จำนวน 2 ฉบับ แยกตามกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลดำเนินการด้วยคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทอดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแยกตามส่วนงาน พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกส่วนงาน โดยส่วนงานที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา รองลงมา ได้แก่ สำนักวิชาการ และสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา ตามลำดับ ด้านวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการดำเนินการเปิดสอน หลักสูตรระดับประกาศนียบัตร รองลงมา ได้แก่ การจัดชั่วโมงสอนแก่อาจารย์ ด้านสำนักวิชาการอาจารย์มีความพึงพอใจต่อความเป็นระเบียบและความเหมาะสมของห้องสมุดสำหรับการศึกษาค้นคว้า รองลงมาได้แก่ การจัดหมวดหมู่หนังสือและการอำนวยความสะดวกในการสืบค้น และด้านสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการอำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอก รองลงมา ได้แก่ การให้บริการในการใช้ห้องประชุมของวิทยาเขต
2. การให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา อาจารย์และนิสิตมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาแยกตามส่วนงานพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 2 ส่วนงาน ได้แก่ สำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมาและสำนักวิชาการ โดยนิสิตมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงานสูงกว่าอาจารย์ สำหรับวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา ไม่พบว่ามีความแตกต่างกัน
3. นิสิตมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา โดยรวมอยู่ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแยกตามส่วนงาน พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกส่วนงาน โดยส่วนงานที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ วิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา รองลงมา ได้แก่ สำนักวิชาการและสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา ตามลำดับด้านวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา นิสิตมีความพึงพอใจต่อการกำหนดวันและระยะเวลาในการสอบ รองลงมา ได้แก่ การจัดตารางสอบ การจัดห้องสอบและกรรมการผู้ควบคุมห้องสอบ ด้านสำนักวิชาการ นิสิตมีความพึงพอใจต่อความเป็นระเบียบและความเหมาะสมของห้องสมุดสำหรับศึกษาค้นคว้า รองลงมา ได้แก่ การจัดหมวดหมู่ของหนังสือและการอำนวยความสะดวกในการสืบค้น และด้านสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา นิสิตมีความพึงพอใจต่อการให้บริการในการใช้ห้องประชุมของวิทยาเขต รองลงมา ได้แก่ การเผยแพร่ข่าวสารของวิทยาเขตแก่นิสิต ทั้งทางเอกสารสิ่งพิมพ์และวิทยุกระจายเสียง
4. การให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา นิสิตที่เรียนชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 1 ส่วนงาน ได้แก่ สำนักวิชาการ เมื่อเปรียบเทียบรายคู่ ไม่พบว่ามีความแตกต่างกันของความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงาน ระหว่างนิสิตชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 สำหรับอีก 2 ส่วนงาน ไม่พบว่ามีความแตกต่างกัน
5. การให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา นิสิตที่สังกัดคณะพุทธศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และคณะสังคมศาสตร์ มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 2 ส่วนงาน ได้แก่ สำนักวิชาการและวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา เมื่อเปรียบเทียบรายคู่ ไม่พบว่ามีความแตกต่างกันของความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงาน ระหว่างนิสิตคณะพุทธศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ แต่ละคู่ ส่วนสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา ไม่พบว่ามีความแตกต่างกัน
ส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
นครราชสีมา
ผู้วิจัย : พระมหาไพโรจน์ กนโก และคณะ
หน่วยงาน : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา
ปีงบประมาณ : 2548
ทุนอุดหนุนการวิจัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของอาจารย์และนิสิตต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของอาจารย์กับนิสิตต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนิสิตต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา แยกตามคณะที่ศึกษาและระดับชั้นปี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ อาจารย์และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา จำนวน 256 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า ชนิด 5 ระดับ จำนวน 2 ฉบับ แยกตามกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลดำเนินการด้วยคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทอดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแยกตามส่วนงาน พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกส่วนงาน โดยส่วนงานที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา รองลงมา ได้แก่ สำนักวิชาการ และสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา ตามลำดับ ด้านวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการดำเนินการเปิดสอน หลักสูตรระดับประกาศนียบัตร รองลงมา ได้แก่ การจัดชั่วโมงสอนแก่อาจารย์ ด้านสำนักวิชาการอาจารย์มีความพึงพอใจต่อความเป็นระเบียบและความเหมาะสมของห้องสมุดสำหรับการศึกษาค้นคว้า รองลงมาได้แก่ การจัดหมวดหมู่หนังสือและการอำนวยความสะดวกในการสืบค้น และด้านสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา อาจารย์มีความพึงพอใจต่อการอำนวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอก รองลงมา ได้แก่ การให้บริการในการใช้ห้องประชุมของวิทยาเขต
2. การให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา อาจารย์และนิสิตมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาแยกตามส่วนงานพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 2 ส่วนงาน ได้แก่ สำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมาและสำนักวิชาการ โดยนิสิตมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงานสูงกว่าอาจารย์ สำหรับวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา ไม่พบว่ามีความแตกต่างกัน
3. นิสิตมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา โดยรวมอยู่ระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแยกตามส่วนงาน พบว่า อยู่ในระดับปานกลางทุกส่วนงาน โดยส่วนงานที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ วิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา รองลงมา ได้แก่ สำนักวิชาการและสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา ตามลำดับด้านวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา นิสิตมีความพึงพอใจต่อการกำหนดวันและระยะเวลาในการสอบ รองลงมา ได้แก่ การจัดตารางสอบ การจัดห้องสอบและกรรมการผู้ควบคุมห้องสอบ ด้านสำนักวิชาการ นิสิตมีความพึงพอใจต่อความเป็นระเบียบและความเหมาะสมของห้องสมุดสำหรับศึกษาค้นคว้า รองลงมา ได้แก่ การจัดหมวดหมู่ของหนังสือและการอำนวยความสะดวกในการสืบค้น และด้านสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา นิสิตมีความพึงพอใจต่อการให้บริการในการใช้ห้องประชุมของวิทยาเขต รองลงมา ได้แก่ การเผยแพร่ข่าวสารของวิทยาเขตแก่นิสิต ทั้งทางเอกสารสิ่งพิมพ์และวิทยุกระจายเสียง
4. การให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา นิสิตที่เรียนชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 1 ส่วนงาน ได้แก่ สำนักวิชาการ เมื่อเปรียบเทียบรายคู่ ไม่พบว่ามีความแตกต่างกันของความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงาน ระหว่างนิสิตชั้นปีที่ 1, 2, 3 และ 4 สำหรับอีก 2 ส่วนงาน ไม่พบว่ามีความแตกต่างกัน
5. การให้บริการของส่วนงานในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา นิสิตที่สังกัดคณะพุทธศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และคณะสังคมศาสตร์ มีความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 2 ส่วนงาน ได้แก่ สำนักวิชาการและวิทยาลัยสงฆ์นครราชสีมา เมื่อเปรียบเทียบรายคู่ ไม่พบว่ามีความแตกต่างกันของความพึงพอใจต่อการให้บริการของส่วนงาน ระหว่างนิสิตคณะพุทธศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ แต่ละคู่ ส่วนสำนักงานวิทยาเขตนครราชสีมา ไม่พบว่ามีความแตกต่างกัน
An Opinion toward Learning and Teaching Management of English among the Undergraduate Students at the Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Research Title: An Opinion toward Learning and Teaching Management of English among the Undergraduate Students at the Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Researchers: Asst. Prof. Nilratana Klinchan Phramaha Prayoon Theerawongso (Suyajai)
Phramaha Suriya Waramedhi (Nakprat)
Department: Department of Foreign Languages, Faculty of Humanities of Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The objectives of this research are to study their opinions and to compare with the level of the opinions of the undergraduate students foward Learning and Teaching management of English, collecting problems and suggestions on the management learning and teaching of English at the Mahachulalong kornrajavidyalay University are in 6 aspects namely: curriculum, learning and teaching media, students, instructors, learning and teaching activities and measurement–evaluation as classified by the following independent variables: status, age, faculty, academic background, experience in learning English and grade of academic achievement. The samples of using in this research were 200 undergraduate students class III in B.E. 2548 academic year at the Mahachulalongrajavidyalaya University in Bangkok metropolitan from 4 faculties namely faculties of Buddhism, education, humanities, and social sciences.
The statistics used for data analysis were: percentage, mean, standard deviation te-test, one-way analysis of variance and Turkey-Kramer Test.
The results of the research were as follows:
1) Most of the undergraduate students were monks and between 15-25 years. Their backgrounds before attention to the Pariyattidhamma class VI (M.6) had experienced in learning English from the government schools and grades of academic achievement 2.00 43 percent and most of them were in the faculty of social sciences.
2) On the overall, undergraduate students expressed their opinions toward the management learning and teaching of English in 6 aspects in moderate level. They also expressed their ideals toward each aspect in the moderate level.
3) The undergraduate students with different status and ages had significantly different in their opinions on the overall in each aspect.
4) The undergraduate students with different academic backgrounds before attending University and grade of academic achievement were significantly different their opinions toward the management learning and teaching in overall and each aspect at 0.05-level.
5) On the whole undergraduate student in different faculties were not significantly different in their opinions toward English leaning and teaching management. When considering each aspect of learning and teaching activate it was found that the undergraduate students of faculties of Buddhism and education were significantly different in their opinions toward English learning and teaching management.
ความคิดเห็นของนิสิตต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ชื่อรายงานการวิจัย: ความคิดเห็นของนิสิตต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผู้วิจัย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิลรัตน์ กลิ่นจันทร์ พระมหาประยูร ธีรวํโส (สุยะใจ)
พระมหาสุริยา วรเมธี (นักปราชญ์)
ส่วนงาน: คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปีงบประมาณ: 2548
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
งานวิจัยชิ้นนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความคิดเห็น และเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของนิสิต ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ และเพื่อประมวลปัญหา ข้อเสนอแนะ ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ในมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ทั้งหก ด้าน คือ หลักสูตร สื่อการเรียนการสอน ผู้เรียน ผู้สอน การจัดการเรียนการสอน และการวัดผลประเมินผล จำแนกตามตัวแปร คือ สถานภาพ อายุ วุฒิการศึกษาเดิม ประสบการณ์เรียนภาษาอังกฤษจากโรงเรียนเดิม และระดับคะแนนผลสัมฤทธิ์การศึกษาและเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนิสิตระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย ส่วนกลาง ชั้นปีที่ 3 จำนวน 200 รูป ในปีการศึกษา 2548 ทั้ง 4 คณะ คือ คณะพุทธศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และคณะสังคมศาสตร์
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตรส่วนประมาณค่าอย่างง่ายและแบบสอบถามปลายเปิดเชิงพรรณนาเชิงความถี่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างที่มีความแตกต่างโดยใช้ค่าที (t-test) และใช้การวิเคราะห์การแปรปรวนแบบทางเดียว (one-way analysis of variance) ในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ใช้การทดสอบโดยวิธีการของ Tukey–Kramer Test
การจัดทำข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิต เพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ผลการ วิจัยสรุปดังนี้
1. นิสิตส่วนใหญ่เป็นพระภิกษุ ร้อยละ 86.00 อายุระหว่าง 15 – 25 ปี ร้อยละ 58 วุฒิการศึกษาเดิมก่อนเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัย คือ พระปริยัติธรรมสามัญ (ม.6) ร้อยละ 40 ประสบการณ์ภาษาอังกฤษจากโรงเรียนเดิมเป็นโรงเรียนรัฐบาล ร้อยละ 71 ระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.00 ร้อยละ 48 และส่วนมากเป็นนิสิตสังกัดคณะสังคมศาสตร์ร้อยละ 34
2. นิสิตมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทั้ง 6 ด้าน โดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง
3. นิสิตมีสถานภาพ และมีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนโดยรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
4. นิสิตมีวุฒิการศึกษาเดิมก่อนเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยและ นิสิตมีระดับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ 0.05
5. นิสิตสังกัดคณะต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แต่เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านการเรียนการสอน นิสิตสังกัดคณะพุทธศาสตร์และครุศาสตร์มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
ข้อเสนอแนะ
1. ด้านหลักสูตร ควรปรับปรุงเนื้อหาและโครงสร้างหลักสูตรภาษาอังกฤษพื้นฐาน เพื่อให้สอดคล้องต่อการนำไปใช้เพื่อศึกษาต่อระดับสูง
2. ด้านสื่อการเรียนการสอน จำนวนสื่ออุปกรณ์มีจำนวนจำกัด เช่น สื่อการศึกษาคอมพิวเตอร์ โปรเจกเตอร์ มีจำนวนจำกัด ควรจัดสรรงบประมาณ เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์สื่อการสอนให้เพียงพอต่อความต้องการ
3. ด้านผู้สอน ผู้สอนควรเอาใจใส่ติดตามผลการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานของผู้เรียนให้มากขึ้น
4. ด้านผู้เรียน ผู้เรียนมีพื้นฐานภาษาอังกฤษไม่ดีพอและแตกต่างกัน ควรปรับพื้นฐานผู้เรียนให้อยู่ในระดับเดียวกัน
5. ด้านการเรียนการสอน ควรจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรทั้งในและนอกสถานที่ เพื่อให้นิสิตได้ประสบการณ์จริงมากที่สุด
6. ด้านการวัดผลประเมินผล ควรประเมินจากการสะสมงาน และปฏิบัติจริงของผู้เรียนในทักษะทั้งสี่ด้านเพิ่มขึ้น
A Study of Teaching of Insight Meditation According to the four Foundations of Mindfulness in Present
Research Title: A Study of Teaching of Insight Meditation According to the four Foundations of Mindfulness in Present
Researchers: Phramaha Boonlert Dhammadassi, Miss Nongyao Noochaiya Na Kalasin, Miss Phannaray Choolert
Department: Lecturer of Graduate School MCU
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
This research is “A Study of Teaching of Insight Meditation According to the four Foundations of Mindfulness in Present” There is objective to study the principle and method meditation practices according to Satipatthan. It is to study the insight meditation teaching of the fourfold foundation of mindfulness in the present. And it is to study the process of builds the Master of Meditation according to the fourfold foundation of mindfulness.
The result of research is the principle and method meditation practices according to the fourfold foundation of mindfulness which appears in Mahasatipattha Sutta, Suttanta Pitaka vol. 10, 12, 13. It is meditation that there is only in the Buddhism and appears in the Buddha time attained enlightenment. We can see that the Buddha came in the Catutha – Jhana (the fourth absorption) and bow his mind to the threefold knowledge, they are :-
1) Pubbenivasanussatinana : reminiscence of past lives,
2) Cutupapatanana : knowledge of the decease and rebirth of beings; clairvoyance, and
3) when he already known that, he used two both of knowledges basically the base in meditation practice, then got Asvakkhayanana (knowledge of destruction of mental intoxication), it is consider to find cause in the cycle of birth and death; Pathiccasamuppada which is the cause of understanding in the four noble truths, we called insight meditation or Vipassana Bhavana. It is principle or practice to understand truly in nama and rupa or five khandha (five aggregates) which is impermanent thing, suffering and non – self. Then tranquillity meditation or Samatha – Bhavana is principle and practice to do concentrated mind. It is generally meditation that we can see when the Buddha went out to ordain and he studied in the practical part, Samatha – Bhavana in Ala hermit’s school before. He is instructed by this hermit until achieved to Rupajhana 4 (Jhanas of the fine – material sphere) and Arupajhana 3 (Sphere of Nothingness). After that he went to continue his study in Udaka hermit’s school until got an Arupajhana 4 (Sphere of neither perception nor non - perception), and the hermit could not him continue because he was omniscient equal a teacher. Hermit finished the knowledge to teach him. He did not attain enlightenment, then say goodbye two of teachers go to seek for the Dhamma that go out from the process of birth and death by himself. At the first time, he practiced of austerities and self – mortification extremely, but still no avail. Then he changed the originally way to be middle way and finally he got to be Buddhahood.
Then the method the insight meditation teaching of fourfold foundation of mindfulness to appear in the present, that is development of mindfulness and clear comprehension from the 4 basics until have the power to apply in daily – life such as standing, walking, sitting lying eating curling, stretching, putting on clothes, bath, including going to stool and urine. It is making insight meditation practice go on the development and encourage the mental health, emotion is controlled by mindfulness and clear comprehension, and to apply in the daily – life suddenly. It is make one who is mindfulness and clear comprehension to know oneself, to decrease the selfishness, to know the abandonment and forgiveness, be kindness and generosity to each other that are good result to oneself, family and the public nation.
The result of research has been the process of builds the Master of Meditation according to the fourfold foundation of mindfulness come from the concept of practical form, it is necessary have to curriculums that leads to the process of training and have to the exercises in the training by use the three principle and method : Atapi to be effort, Sampajano to be awareness and Satima to be mindful before always do, speak, think with 21 or 6 ways follow the suitable times. Place, person, social which are in the four foundations : boy, feeling, mind and phenomena.
ศึกษาปรากฏการณ์วิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักสติปัฏฐานสี่ในปัจจุบันวิปัสสนากัมมัฏฐาน
ชื่อรายงานวิจัย: ศึกษาปรากฏการณ์วิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักสติปัฏฐานสี่ในปัจจุบันวิปัสสนากัมมัฏฐาน
ผู้วิจัย: พระมหาบุญเลิศ ธมฺมทสฺสี นางสาวนงเยาว์ หนูไชยะ ณ กาฬสินธุ์ นางสาวพรรณราย ชูเลิศ
ส่วนงาน: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปีงบประมาณ: ๒๕๔๘
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง “ศึกษาปรากฏการณ์วิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักสติปัฏฐานสี่ในปัจจุบัน” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักสติปัฏฐานสี่ตามที่ปรากฏในคัมภีร์ เพื่อศึกษาถึงวิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักสติปัฏฐานสี่ที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน และเพื่อศึกษากระบวนการสร้างวิปัสสนาจารย์ตามหลักสติปัฏฐานสี่
ผลจากการวิจัยพบว่า หลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักสติ ปัฏฐานสี่มีปรากฏอยู่ในมหาสติปัฏฐานสูตร พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐,๑๒,๑๙ เป็นกัมมัฏฐาน มีเฉพาะในพระพุทธศาสนาเท่านั้น ปรากฏขึ้นในสมัยที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ และพระพุทธเจ้าเป็นผู้ทรงค้นพบ จะเห็นได้จากการที่พระพุทธเจ้าทรงเข้าจตุตถฌานแล้วน้อมจิตไปสู่วิชชา ๓ คือ
(๑) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การระลึกชาติได้
(๒) จุตูปปาตญาณ เห็นการจุติและปฏิสนธิของสัตว์ทั้งหลายเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทิพพจักขุญาณ
(๓) เมื่อรู้เห็นอย่างนั้นแล้วทรงใช้วิชชาทั้ง ๒ เป็นพื้นฐานในการเจริญวิปัสสนา จึงได้บรรลุอาสวักขยญาณ (ความรู้ที่ทำให้อาสวะสิ้นไป) คือ พิจารณาหาเหตุปัจจัยในการเวียนว่ายตายเกิด คือ ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ อันเป็นเหตุให้รู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจ ๔ จึงเรียกว่า วิปัสสนากัมมัฏฐานหรือวิปัสสนาภาวนา ก็คือหลักการหรือวิธีปฏิบัติเพื่อให้เกิดปัญญาเห็นแจ้งตามความเป็นจริงในรูปนาม หรือขันธ์ ๕ ว่าเป็นสภาพไม่เที่ยงแท้แน่นอน (อนิจจัง) เป็นทุกข์ถูกบีบคั้นทนได้ยากยิ่งนัก (ทุกขัง) เป็นสภาพที่ไม่ใช่บุคคล ตัวตน เรา เขา บังคับบัญชาให้เป็นไปตามอำนาจไม่ได้ (อนัตตา) ส่วนสมถกัมมัฏฐานหรือสมถภาวนา ได้แก่ หลักการหรือวิธีปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสงบทางจิตใจ หรือการทำจิตใจให้เป็นสมาธิ มีความมั่นคงภายใน เป็นเพียงกัมมัฏฐานที่มีอยู่ทั่ว ๆ ไป ไม่ใช่มีเฉพาะในพระพุทธศาสนา ดังเห็นได้จากการที่พระพุทธองค์เสด็จออกบรรพชาแล้ว ทรงศึกษาในภาคปฏิบัติ ด้วยการบำเพ็ญสมถภาวนากับท่าน อาฬารดาบส กาลามโคตรโดยได้บรรลุถึงรูปฌาน ๔ และอรูปฌาน ๓ จากนั้นจึงทรงศึกษาปฏิบัติต่อในสำนักของอุทกดาบสรามบุตรผู้มีความรู้สูงกว่าจนได้บรรลุอรูปฌานที่ ๔ แล้วลาอาจารย์ทั้ง ๒ ไปแสวงหาธรรมที่ออกจากสังวัฏฏทุกข์ด้วยพระองค์เอง โดยขั้นแรกได้ทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยาอย่างยิ่งยวด แต่ยังไม่สำเร็จ จึงปรับเปลี่ยนวิธีจากเดิมมาเป็นมัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง) จนได้ตรัสรู้เป็นพระอรหัตตสัมมาสัมพุทธเจ้าในที่สุด จึงสรุปได้ว่า หลักการของวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักสติปัฏฐานที่ใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติมีอยู่ ๓ ประการ คือ ๑. ความเพียร (อาตาปี) ๒. ปัญญา (สัมปชาโน) ๓. สติ (สติมา) มีวิธีปฏิบัติ ๒๑ วิธี ในฐานทั้ง ๔ คือ ๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑๔ วิธี ได้แก่ อานาปาน ๑ วิธี, อิริยาบถ ๑ วิธี สัมปชัญญะ ๑ วิธี, ปฏิกูลมนสิการ ๑ วิธี, ธาตุมนสิการ ๑ วิธี และสีวถิกะ (การพิจารณาเห็นซากศพในป่าช้า) ๙ วิธี ๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑ วิธี ๓. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑ วิธี และ ๔. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๕ วิธี ได้แก่ วิธีกำหนดนิวรณ์ ๑ วิธี, วิธีกำหนดเบญจขันธ์ ๑ วิธี, วิธีกำหนดอายตนะ ๑ วิธี, วิธีกำหนดโพชฌงค์ ๑ วิธี และวิธีกำหนดอริยสัจ ๑ วิธี ดังนั้น จึงมีหลักการ ๓ วิธีการปฏิบัติ ๒๑
ส่วนวิธีการสอนวิปัสสนากัมมัฏฐานตามหลักสติปัฏฐานสี่ที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน คือ วิธีการสื่อหรือการถ่ายทอดประสบการณ์ของกระบวนการพัฒนาสติ คือการระลึกได้ และสัมปชัญญะ ความรู้ตัวทั่วพร้อมจากฐานทั้ง ๔ จนมีพลังพอที่จะเอามาประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจำวัน เช่น การยืน การเดิน การนั่ง การนอน การรับประทานอาหาร การคู้ การเหยียด การนุ่งห่มเสื้อผ้า การอาบน้ำ ตลอดจนการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ โดยทำเป็นรูปแบบหรือหลักสูตรในการวัดผล จึงทำให้การปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานเป็นไปในการพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพจิต สติสัมปชัญญะใช้ควบคุมอารมณ์ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ทันทีไม่ต้องรอ ทำให้ผู้ที่มีสติสัมปชัญญะสามารถอ่านตนออก บอกตนได้ ใช้ตนเป็น ลดความเห็นแก่ตัว รู้จักการปล่อยวางและการให้อภัย มีความเมตตากรุณา และความเอื้ออาทรต่อกัน อันเป็นผลดีต่อตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติโดยส่วนรวม
และพบว่า กระบวนการสร้างวิปัสสนาจารย์ตามหลักสติปัฏฐานสี่มาจากแนวคิดเรื่องรูปแบบการปฏิบัติ จำเป็นจะต้องมีหลักสูตร อันนำเข้าสู่กระบวนการฝึกอบรม และจำเป็นต้องมีแบบฝึกหัดในการฝึกอบรมโดยใช้หลักการและวิธีการ ๓ คือ อาตาปี มีความเพียร สัมปชาโน มีปัญญาเท่าทัน สติมา มีความระลึกได้ระลึกรู้ ก่อนทำ ก่อนพูด ก่อนคิดเสมอ ด้วยวิธีการ ๒๑ หรือ ๖ ตามความเหมาะสมแก่กาลเวลา สถานที่ บุคคล สังคม ซึ่งอยู่ในฐานทั้ง ๔ คือ กาย เวทนา จิต และธรรม
The Roles of Buddhasastrapandits in Phitsanulok
Research Title: The Roles of Buddhasastrapandits in Phitsanulok
Researchers: Phrakrusiriratananuvat (Tawee Thanavaro) Phramahaboonlerd Indapanyo Kue Chaipoom
Department: Buddhachinarat Sangha College, Phitsanulok
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The objectives of study and research on “The Roles of Buddhasastrapandits in Phitsanulok” are to study their roles including their status and building central information as statics for service to this college and public.
One hundred and three persons of Buddhasastrapandits in Pitsanulok have shown the varieties of their roles to society either monk or layman. The monk has honorific rank is Phra khru of special classification. One of them, his high governmental position is the vice - the ecclesiastical provicial governer, the ecclesiastical District Head, the ecclesiastical sub. District Head, the abbot, the secretary of them. They pay the function on education by teaching in school; Pariyatti – Saman, Buddhist Sunday School and by doing welfare school. They have been Dhamma-talkers and lectures of Dhamma etc. amount of 66 at percent of 64.07. While the status of layman is shown by doing civil service – religious teacher in jail, in the force of military, some teachers besides have been business men in personality also, amount of 37 at average 35.10.
In this case, we have known that Buddhasastrapandits take the two of status namely – the monk and layman. In these actions of them should be recorded as statistic for the service from this college to public. Otherwise their duties follow the main policy of Buddhist University for social welfare by teaching by introducing their spirit to all.
From the collection of promblems and suggestions in part 4 of questionnaire of this research, its reflection makes us know many cases. They are obstruction namely; budget was not sufficient or nothing and power in function is limited. The power is less than their ideals of working.
Researchers: Phrakrusiriratananuvat (Tawee Thanavaro) Phramahaboonlerd Indapanyo Kue Chaipoom
Department: Buddhachinarat Sangha College, Phitsanulok
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The objectives of study and research on “The Roles of Buddhasastrapandits in Phitsanulok” are to study their roles including their status and building central information as statics for service to this college and public.
One hundred and three persons of Buddhasastrapandits in Pitsanulok have shown the varieties of their roles to society either monk or layman. The monk has honorific rank is Phra khru of special classification. One of them, his high governmental position is the vice - the ecclesiastical provicial governer, the ecclesiastical District Head, the ecclesiastical sub. District Head, the abbot, the secretary of them. They pay the function on education by teaching in school; Pariyatti – Saman, Buddhist Sunday School and by doing welfare school. They have been Dhamma-talkers and lectures of Dhamma etc. amount of 66 at percent of 64.07. While the status of layman is shown by doing civil service – religious teacher in jail, in the force of military, some teachers besides have been business men in personality also, amount of 37 at average 35.10.
In this case, we have known that Buddhasastrapandits take the two of status namely – the monk and layman. In these actions of them should be recorded as statistic for the service from this college to public. Otherwise their duties follow the main policy of Buddhist University for social welfare by teaching by introducing their spirit to all.
From the collection of promblems and suggestions in part 4 of questionnaire of this research, its reflection makes us know many cases. They are obstruction namely; budget was not sufficient or nothing and power in function is limited. The power is less than their ideals of working.
บทบาทของพุทธศาสตรบัณฑิตในจังหวัดพิษณุโลก
ชื่อรายงานการวิจัย: บทบาทของพุทธศาสตรบัณฑิตในจังหวัดพิษณุโลก
ผู้วิจัย: พระครูสิริรัตนานุวัตร (ทวี ฐานวโร) พระมหาบุญเลิศ อินฺทปญฺโญ พ.อ. เกื้อ ชัยภูมิ
ส่วนงาน: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช พิษณุโลก
ปีงบประมาณ: ๒๕๔๘
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง “บทบาทพุทธศาสตรบัณฑิตในจังหวัดพิษณุโลก มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาบทบาท รวมถึงสถานภาพของพุทธศาสตรบัณฑิตในจังหวัดพิษณุโลก เพื่อทำสถิติเป็นศูนย์กลางข้อมูลการศึกษาของวิทยาลัยสงฆ์ตลอดทั้งบริการแก่สาธารณชนทั่วไป
พุทธศาสตรบัณฑิตในจังหวัดพิษณุโลกที่สำรวจได้ จำนวน ๑๐๓ รูป/ท่าน ในจำนวนนี้ได้แสดงบทบาทต่อสังคมในด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นพระสงฆ์และคฤหัสถ์ ในส่วนที่มีสถานภาพเป็นพระสงฆ์นั้น มีการดำรงสมณศักดิ์สูงสุดที่พระครูสัญญาบัตรชั้นเอกพิเศษ มีตำแหน่งคณะสงฆ์สูงสุดเป็นรองเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำเภอ รองเจ้าคณะอำเภอ จากนั้นเป็นเจ้าอาวาส เลขานุการเจ้าคณะต่าง ๆ ปฏิบัติหน้าที่ด้านการศึกษาโดยการเป็นครูสอนในโรงเรียนปริยัติธรรม-สามัญศึกษา โรงเรียนสงเคราะห์ โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และเป็นนักเทศน์ วิทยากรบรรยายธรรมต่าง ๆ จำนวน ๖๖ รูป คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๐๗ ในส่วนที่มีสถานภาพเป็นคฤหัสถ์นั้น มีการประกอบอาชีพต่าง ๆ คือเป็นข้าราชการ มีอนุศาสนาจารย์เรือนจำ อนุศาสนาจารย์กองทัพบก เป็นครูประชาบาล นอกจากนี้เป็นผู้ประกอบธุรกิจส่วนตัว จำนวน ๓๗ ท่าน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๑๐
ในการนี้ ทำให้ทราบว่าพุทธศาสตรบัณฑิตมีสถานภาพอยู่ ๒ อย่างคือ สถานภาพที่เป็นพระสงฆ์ และเป็นคฤหัสถ์ มีบทบาทต่อสังคมหลาย ๆ ด้าน สมควรจะได้ทำสถิติไว้เพื่อเป็นข้อมูลศึกษาสำหรับวิทยาลัยสงฆ์และนักการศึกษาทั่วไป นอกจากนี้ ยังเป็นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัยที่ให้มีการติดตามวัดผลประเมินต่อเนื่องกับพุทธศาสตรบัณฑิตอีกด้วย
จากการรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะจากแบบสอบถามในตอนที่ ๔ แล้ว ทำให้ทราบว่า พุทธศาสตรบัณฑิตเหล่านี้ไม่มีความคล่องตัวในการจัดการศึกษาและมีส่วนรวมในบทบาทต่าง ๆ อันเนื่องมาจากงบประมาณให้ไม่เพียงพอหรือไม่มีเลย และอำนาจในการบริหารมีไม่เพียงพอที่จะเปิดงานทำตามอุดมการณ์
ผู้วิจัย: พระครูสิริรัตนานุวัตร (ทวี ฐานวโร) พระมหาบุญเลิศ อินฺทปญฺโญ พ.อ. เกื้อ ชัยภูมิ
ส่วนงาน: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช พิษณุโลก
ปีงบประมาณ: ๒๕๔๘
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยเรื่อง “บทบาทพุทธศาสตรบัณฑิตในจังหวัดพิษณุโลก มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาบทบาท รวมถึงสถานภาพของพุทธศาสตรบัณฑิตในจังหวัดพิษณุโลก เพื่อทำสถิติเป็นศูนย์กลางข้อมูลการศึกษาของวิทยาลัยสงฆ์ตลอดทั้งบริการแก่สาธารณชนทั่วไป
พุทธศาสตรบัณฑิตในจังหวัดพิษณุโลกที่สำรวจได้ จำนวน ๑๐๓ รูป/ท่าน ในจำนวนนี้ได้แสดงบทบาทต่อสังคมในด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นพระสงฆ์และคฤหัสถ์ ในส่วนที่มีสถานภาพเป็นพระสงฆ์นั้น มีการดำรงสมณศักดิ์สูงสุดที่พระครูสัญญาบัตรชั้นเอกพิเศษ มีตำแหน่งคณะสงฆ์สูงสุดเป็นรองเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำเภอ รองเจ้าคณะอำเภอ จากนั้นเป็นเจ้าอาวาส เลขานุการเจ้าคณะต่าง ๆ ปฏิบัติหน้าที่ด้านการศึกษาโดยการเป็นครูสอนในโรงเรียนปริยัติธรรม-สามัญศึกษา โรงเรียนสงเคราะห์ โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ และเป็นนักเทศน์ วิทยากรบรรยายธรรมต่าง ๆ จำนวน ๖๖ รูป คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๐๗ ในส่วนที่มีสถานภาพเป็นคฤหัสถ์นั้น มีการประกอบอาชีพต่าง ๆ คือเป็นข้าราชการ มีอนุศาสนาจารย์เรือนจำ อนุศาสนาจารย์กองทัพบก เป็นครูประชาบาล นอกจากนี้เป็นผู้ประกอบธุรกิจส่วนตัว จำนวน ๓๗ ท่าน คิดเป็นร้อยละ ๓๕.๑๐
ในการนี้ ทำให้ทราบว่าพุทธศาสตรบัณฑิตมีสถานภาพอยู่ ๒ อย่างคือ สถานภาพที่เป็นพระสงฆ์ และเป็นคฤหัสถ์ มีบทบาทต่อสังคมหลาย ๆ ด้าน สมควรจะได้ทำสถิติไว้เพื่อเป็นข้อมูลศึกษาสำหรับวิทยาลัยสงฆ์และนักการศึกษาทั่วไป นอกจากนี้ ยังเป็นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัยที่ให้มีการติดตามวัดผลประเมินต่อเนื่องกับพุทธศาสตรบัณฑิตอีกด้วย
จากการรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะจากแบบสอบถามในตอนที่ ๔ แล้ว ทำให้ทราบว่า พุทธศาสตรบัณฑิตเหล่านี้ไม่มีความคล่องตัวในการจัดการศึกษาและมีส่วนรวมในบทบาทต่าง ๆ อันเนื่องมาจากงบประมาณให้ไม่เพียงพอหรือไม่มีเลย และอำนาจในการบริหารมีไม่เพียงพอที่จะเปิดงานทำตามอุดมการณ์
A Study of the Buddhist View towards the Mahachulalongkornrajavidyalaya University for Learning and Teaching in a Major Role for the Religion and Phil
Research Title: A Study of the Buddhist View towards the Mahachulalongkornrajavidyalaya University for Learning and Teaching in a Major Role for the Religion and Philosophy
Researchers: Phra Maha Vorachai Tissadhevo, Phra Maha Boonlert Inthapanyo
Mr. Chaleiw Rodkeiw
Department: Buddhist Research Institute of Mahachulalongkorn rajavidyalaya University
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The aims of this research were to study an education management, the Buddhist monk student’s level of the point of view for learning and teaching in a major of religion and philosophy and getting a problems and recommendations.
The group for studying was two hundred and seventy seven of Buddhist monk students. A five rating scale questionnaires were used for the studying in six areas; lectures, curriculum, education management system, teaching system, physical need and learning and teaching media. Questionnaires were handed out in person. The data were analyzed by using frequency distribution, percentage, average and standard deviation.
The study revealed as follow:
1. The results were found that most of the students in good point and in high level of lecturer, curriculum, education management system, teaching system and physical need.
2. Moderate level of the learning and teaching media.
ศึกษาความคิดเห็นของพระนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา
ชื่อรายงานการวิจัย: ศึกษาความคิดเห็นของพระนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชา
ศาสนาและปรัชญา
ผู้วิจัย: พระมหาวรชัย ติสฺสเทโว พระมหาบุญเลิศ อินฺทปญฺโญ นายเฉลียว รอดเขียว
ส่วนงาน: คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปีงบประมาณ: 2548
ทุนอุดหนุนการวิจัย : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง การศึกษาความคิดเห็นของพระนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา ฉบับนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการจัดการศึกษา เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน และเพื่อประมวลปัญหาและข้อเสนอแนะของผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาศาสนาและปรัชญา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 277 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัยในครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม(Questionnaires) มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบ่งออกเป็น 6 ด้าน คือ ด้านอาจารย์ผู้สอน ด้านหลักสูตร ด้านระบบการจัดการศึกษา ด้านวิธีการสอน ด้านอาคารสถานที่ และด้านสื่อการเรียนการสอน ผู้วิจัยได้ดำเนินการแจกแบบสอบถามด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละของข้อมูลทั่วไป ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่า F-test ทั้งนี้โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ 0.05
ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า นิสิตที่กำลังศึกษาอยู่ในสาขาวิชาศาสนาและสาขาวิชาปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (ส่วนกลาง) วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช และห้องเรียนจังหวัดเพชรบูรณ์ มีความคิดเห็นต่อการจัดการศึกษาของสาขาวิชาศาสนาและสาขาวิชาปรัชญาในด้านอาจารย์ผู้สอน ด้านหลักสูตร ด้านวิธีการสอน ด้านระบบการจัดการศึกษา และด้านอาคารสถานที่ โดยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วย มีเพียงด้านสื่อการเรียนการสอน ที่นิสิตมีความไม่แน่ใจในการจัดการศึกษา เมื่อจำแนกความคิดเห็นของนิสิตไปตามสถานที่เรียนทั้ง 3 แห่งก็แสดงให้เห็นว่า นิสิตที่เรียนอยู่ในทุกหน่วยงานมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของสาขาวิชาศาสนาและสาขาวิชาปรัชญาอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า นิสิตที่เรียนในสถานที่เรียนแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของสาขาวิชาศาสนาและสาขาวิชาปรัชญาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 0.01 ในด้านอาจารย์ผู้สอนและด้านระบบการจัดการศึกษา ส่วนด้านอื่น ๆ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน
An Evaluation of Using Curriculum in the 1st Grade of Dhamma Section, at the Phrapariyattidhamma School, Phrae Province
Research Title: An Evaluation of Using Curriculum in the 1st Grade of Dhamma Section, at the Phrapariyattidhamma School, Phrae Province
Researchers: Mr. Sermsin Chuthaisong Phramaha Simarat Siritammo Assist. Prof. Poontrap Ketverapong Mrs. Chonticha Jirapakapong
Department: Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Phayao Campus
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The aim of this result was to study of the Phrapariyattidhamma in the 1st grade of Dhamma section, in the Phrapariyatidhamma School, Phrae province which were separated into five parts. There were context, impute, process, product and impact. And the thesis aimed to compare with opinions to the experts, administrators, abbots, teachers and students. The sampling groups were three hundred and thirty nine populations which were including the nine experts, nine administrators, twenty one abbots, seventy two teachers and two hundred and twenty eight students. Questionnaire with five categorical rating scales were used. The percentage, Means, Standard deviation and F-test were performed on the data. The secondary data also were used.
The result indicated that the researchers found the result in good level of the five parts which were including the contexts, input, product and impact. An analysis and the comparative of opinions of experts, administrators, abbots, teachers and students were viewed that the results showed no different levels in four parts which were including the context, impute, product and impact. But in another part, the process found in different opinion in five levels.
Researchers: Mr. Sermsin Chuthaisong Phramaha Simarat Siritammo Assist. Prof. Poontrap Ketverapong Mrs. Chonticha Jirapakapong
Department: Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Phayao Campus
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The aim of this result was to study of the Phrapariyattidhamma in the 1st grade of Dhamma section, in the Phrapariyatidhamma School, Phrae province which were separated into five parts. There were context, impute, process, product and impact. And the thesis aimed to compare with opinions to the experts, administrators, abbots, teachers and students. The sampling groups were three hundred and thirty nine populations which were including the nine experts, nine administrators, twenty one abbots, seventy two teachers and two hundred and twenty eight students. Questionnaire with five categorical rating scales were used. The percentage, Means, Standard deviation and F-test were performed on the data. The secondary data also were used.
The result indicated that the researchers found the result in good level of the five parts which were including the contexts, input, product and impact. An analysis and the comparative of opinions of experts, administrators, abbots, teachers and students were viewed that the results showed no different levels in four parts which were including the context, impute, product and impact. But in another part, the process found in different opinion in five levels.
การประเมินการใช้หลักสูตรพระปริยัติธรรมแผนกธรรมชั้นตรีในโรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกธรรม จังหวัดแพร่
ชื่อรายงานการวิจัย: การประเมินการใช้หลักสูตรพระปริยัติธรรมแผนกธรรมชั้นตรีในโรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกธรรม จังหวัดแพร่
ผู้วิจัย: นายเสริมศิลป์ จูไธสง พระมหาสิมรัตน์ สิริธมฺโม ผศ.พูนทรัพย์ เกตุวีระพงศ์ นางชลธิชา จิรภัคพงศ์
ส่วนงาน: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่
ปีงบประมาณ: 2548
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
ในการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อประเมินการใช้หลักสูตรพระปริยัติธรรมแผนกธรรมชั้นตรีในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม จังหวัดแพร่ ใน 5 ด้าน คือ ด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิตของหลักสูตร และด้านผลกระทบ และ เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร ผู้บริหารหลักสูตร เจ้าสำนักศาสนศึกษา ครูสอน และนักเรียน เกี่ยวกับหลักสูตรพระปริยัติธรรมแผนกธรรมชั้นตรี ในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม จังหวัดแพร่โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร จำนวน 9 รูป/คน ผู้บริหารหลักสูตร จำนวน 9 รูป เจ้าสำนักศาสนศึกษา จำนวน 21 รูป ครูผู้สอน จำนวน 72 รูป นักเรียน จำนวน 228 รูป รวม 339 รูป/คน การเก็บรวมรวบข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Means) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Diviation) และค่าเอฟ (F–test) ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา นำข้อมูลมาจัดหมวดหมู่ แล้วนำข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นร้อยแก้ว
ผลการวิจัย พบว่า
ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินการใช้หลักสูตรพระปริยัติธรรมแผนกธรรมชั้นตรีในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม จังหวัดแพร่ ในภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิตของหลักสูตร และด้านผลกระทบ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน
สำหรับการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับความคิดเห็น ระหว่างผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร ผู้บริหารหลักสูตร เจ้าสำนักศาสนศึกษา ครูผู้สอน และนักเรียน พบว่า โดยภาพรวม ไม่แตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านผลผลิตของหลักสูตร และด้านผลกระทบ มีระดับความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านกระบวนการ มีระดับความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
An Analysis of Theravada Buddhist Scriptures: Death and Mindfulness of Death
Research Title: An Analysis of Theravada Buddhist Scriptures: Death and Mindfulness of Death
Researcher: Mr. Suchaya Siritanyaporn and Others
Department: Division of Buddhist Texts of Academic Division, Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
An analytical study of the Theravada Buddhist scriptures death and mindfulness of death was aims: to study the principles of the Buddha’s teaching about the death appearing in the Buddhist scriptures, to study how to apply the death to the sense object of meditation exercise and to study the method of practice about the death in applying it to the present societies.
The foresaid aims will respond to the way of death, will right recollect the death, will be able to help lessening the people’s fear of death, will help release the sorrow arising in the present societies and will help them to possess of peaceful minds at the point of death.
By findings of this research were as follows:
1) From the principles of teaching about the death as appearing in the Buddhist scriptures. Commentaries sub-commentaries, special texts and all other related data; it was found that death is the truth in lives. It was what usually arising but it was causes a fright to every body. Every body tries in any way to escape from death, but no one can not be successful. Really the death is not a fearful condition, but the condition before death is more fearful, because of this condition, if a person has pure mind, he will go to a happy state, if he has impure min, and he will go to an unhappy state. So, one should follow the way of correcting about the death such as the state before death which is called an object’s teaching about the death, thought process before death, the method to set the mind right, and finally the Buddha’s teaching about the death. By this way, one can rightly lead one’s life, and as a result, one will die peacefully. This is called the good death. At any rate, according to the Buddhist principles of teaching, the state of no rebirth again is called the attainment of Nirvana, the Highest Bliss, which is called the best death in Buddhism.
2) In applying the death to the sense object of meditation practice is appearing in the Buddhist scriptures. It is found that the Buddha said about the mindfulness of death in various places. For example, one who develops the mindfulness of death should contemplate as follows. We may be still alive only for a moment of chewing one mouthful food of a morsel of rice. Or, we may be alive just at the moment of our inhalation and exhalation. More over, one who could mainly contemplate on one’s death day and might, and should consider one’s life as full of both inside and outside danger to destroy one’s life. Furthermore, one should be possessed of doctrine, namely-mindfulness, sense of urgency and wisdom. Having practiced in these ways, one can be relieved from suffering and be free from suffering. Beside, one can get rid of sorrow, when on sees the beloved people die.
3) From the application of the matter of death to the present societies, in such ways as using the technological methods in recording the teaching about the death and mindfulness of death on tapes, C.D, plates, magic lanterns or movies, can help the sorrowful people to be free from sorrow, or the suffering people to get rid of suffering. Beside, it is good to form a new viewpoint about the death which will be a better one to be taken by all people by emphasizing the principles of the teaching about the action or the state of existence which has the relationship with human beings. Good action leads the people to be a happy state, whereas ad is fact clearly shows the relationship with human beings. Good action leads the people to be a happy state; whereas bad action leads the people to the unhappy state. This fact clearly shows the relationship with each and every human being’s death.
In addition to this, the researching group was interview for many people about the death and mindfulness of death. The result of the interview was satisfactory in one part, and will have to be right in another part. The conclusion was what will be the people’s refuge is the good action already reformed. For the Buddhists, the best refuge is the Triple Gem which can be the people’s good refuge at the point of death, make the death be a good one and help to die peacefully. If there is a group of people, nation, race and religion can help them and rightly teach about the death and mindfulness of death. Each of them can help human beings who are afraid of death to refrain from disturbing one another.
วันอังคารที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
การวิเคราะห์คัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท : ความตาย กับ มรณัสสติ
ชื่อรายงานการวิจัย : การวิเคราะห์คัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท : ความตาย กับ มรณัสสติ
ผู้วิจัย : นายสุชญา ศิริธัญภร และคณะ
ส่วนงาน : ฝ่ายคัมภีร์พุทธศาสน์ กองวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปีงบประมาณ : ๒๕๔๘
ทุนอุดหนุนการวิจัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
เรื่องการศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท : ความตาย กับ มรณัสสติ นั้น กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ ๓ ประการ คือ เพื่อศึกษาหลักคำสอนเรื่องความตายที่ปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเถรวาท เพื่อศึกษาการใช้ความตายเป็นอารมณ์ และเพื่อศึกษาวิธีปฏิบัติเรื่องความตายสำหรับประยุกต์ใช้ในสังคมปัจจุบัน
วัตถุประสงค์ดังกล่าวนี้ กัมมัฏฐาน จะเสนอแนวทางแห่งความตายและการระลึกถึงความตายที่ถูกต้อง จะช่วยคลายความสะดุ้งกลัวต่อความตายของคนทั้งหลาย และช่วยบรรเทาความเศร้าโศกเสียใจที่เกิดขึ้นในสังคม เมื่อคนเราจะตาย ก็ตายไปอย่างมีสติสงบ ไม่หลงตาย
ผลการวิจัย มีดังนี้
๑. หลักคำสอนเรื่องความตายที่ปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเถรวาท ตามที่ปรากฏในพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ปกรณ์วิเสส ตลอดถึงข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง รู้กันโดยมากว่า เรื่องความตายเป็นสัจธรรมแห่งชีวิต เกิดมาแล้วทุกคนต้องตาย ไม่มีใครจะหลีกหนีไปได้ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่เป็นประจำ แต่ความตายก็ก่อให้เกิดความสะดุ้งกลัวแก่ทุกคน ทุกคนพยายามทุกวิถีทางเพื่อที่จะไม่ให้ความตายมาถึง เพราะกลัวต่อความตาย ความจริง ความตายเป็นสิ่งไม่น่ากลัว แต่ภาวะก่อนตายเป็นสิ่งที่น่ากลัวมากกว่า เพราะภาวะที่จะตายนี้ถ้าจิตผ่องใสจะไป สู่สุคติ ถ้าจิตเศร้าหมองจะไปสู่ทุคติ ดังนั้นคนเราควรเรียนรู้เกี่ยวกับความตาย เช่น เรื่องเกี่ยวกับปรากฏการณ์ก่อนตายที่เรียกว่าอารมณ์ วิถีจิตก่อนตาย วิธีแก้ไข ตลอดถึงคำสอนเกี่ยวกับความตาย อย่างถูกต้อง ตามวิธีที่พระพุทธเจ้าตรัสสอนไว้ ก็จะทำให้เรานั้นปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง เวลาตายก็จะตาย อย่างสงบ จัดเป็นการตายที่ดี แต่เมื่อว่าตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาท การไม่เวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป คือบรรลุพระนิพพาน จัดว่าเป็นการตายที่ดีที่สุด
๒. การใช้ความตายเป็นอารมณ์กัมมัฏฐานที่ปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา รู้กันโดยมากว่า พระพุทธองค์ได้ตรัสมรณัสสติไว้หลายแห่งเป็นต้นว่า ผู้จะเจริญมรณัสสติควรพิจารณาดังนี้ว่า เราพึงเป็นอยู่ได้ชั่วขณะเคี้ยวกินข้าว ๑ คำ หรือเราพึงเป็นอยู่ได้เพียงชั่วการหายใจเข้า-ออกเท่านั้น และผู้เจริญมรณัสสติได้ดี ควรพิจารณาถึงความตายของตนเป็นหลักทั้งกลางวันและกลางคืน และควรพิจารณาเห็นชีวิตว่ามีอันตรายรอบด้านทั้งภายในและภายนอกที่จะทำให้เสียชีวิตไป และควรมีธรรม ๓ ประการคือ สติ สังเวคะ และญาณ เมื่อปฏิบัติตามได้เช่นนี้แล้ว จะสามารถคลายความทุกข์พ้นจากความทุกข์ได้ เมื่อเห็นคนอื่นผู้เป็นที่รักตายไปก็สามารถบรรเทาความเศร้าโศกที่จะเกิดขึ้นได้อีกด้วย
๓. วิธีปฏิบัติต่อความตายสำหรับประยุกต์ใช้ในสังคมปัจจุบัน รู้กันโดยมากว่า คำสอนของพระพุทธศาสนา หากนำมาประยุกต์ให้เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน เช่น ใช้เทคโนโลยีถ่ายทอดหลักคำสอนเรื่องความตาย กับ มรณัสสติ ลงเป็นม้วนเทปบ้าง แผ่นซีดีบ้าง เป็นภาพนิ่งบ้าง เป็นภาพยนตร์บ้างก็อาจจะสามารถช่วยเหลือผู้ที่มีความเศร้าโศกให้คลายความเศร้าโศกลงได้ หรือผู้ที่มีความทุกข์ก็ให้คลายความทุกข์ได้นอกจากนี้ ควรช่วยสร้างมุมมองเรื่องความตายใหม่ เป็นมุมมองการตายที่ดีว่าคนเราสามารถทำได้ โดยเน้นการเผยแผ่หลักคำสอนเรื่องกรรมหรือภพภูมิว่ามีความสัมพันธ์กับคนเราอย่างแยกไม่ออก กรรมดีนำไปสู่สุคติ กรรมชั่วนำไปสู่ทุคติ สัมพันธ์สอดคล้องกับการตายของคนเราอย่างชัดเจน
นอกจากนี้ คณะผู้วิจัยได้ไปสัมภาษณ์เรื่องความตายกับมรณัสสติจากบุคคลต่างๆ ผลการสัมภาษณ์ มีผลเป็นที่น่าพอใจส่วนหนึ่ง ยังต้องแก้ไขส่วนหนึ่ง และได้ข้อสรุปว่า สิ่งที่จะเป็นที่พึ่งของคนเรา ก็คือคุณความดีที่กระทำไว้ และสำหรับชาวพุทธ สิ่งที่เป็นพึ่งที่ดีที่สุดก็คือพระรัตนตรัย เมื่อเวลาจะตายเป็นที่พึ่งได้ ช่วยให้มีการตายที่ดี ตายอย่างสงบสุขได้ หากทุกๆฝ่าย ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา ช่วยกันสอนเรื่องความตายและการระลึกถึงความตายอย่างถูกวิธี ก็จะทำให้มวลมนุษยชาติผู้มีความสะดุ้งกลัวต่อความตาย งดเว้นการเบียดเบียนกันและกัน และมีความปรารถนาดีต่อกัน ยามตายจะได้ตายอย่างสงบสุข
วันจันทร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553
A study of problem in applying the local knowledge intelligent In learning activities on Phrpariyattidhamma School : Normal Study sections Phrae
Research Title: A study of problem in applying the local knowledge intelligent In learning activities on Phrpariyattidhamma School : Normal Study sections Phrae
Researchs: Phrakoosoponpattananuyutta Phrabideeka Udon Uttaramethee Mr.Kriengsak Fongkam
Mr.Thananukool Sricompa
Miss.Onanong Woowong
Department: Mahachulalongkonrajvidyalaya University Phrae Campus
Fiscal Year: 2548 / 2006
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkonrajvidyalaya University
ABSTRACT
The purpose of this research were for study of problem in applying the local knowledge intelligent in learning activities on Phrpariyattidhamma School : Normal study sections Phrae in factors. There are prepare teaching, management of teaching and follows evaluate factors which by comparing state of problem in applying the local knowledge intelligent in learning activities on Prapariyattidhamma School : Normal study sections Phrae in 3 factors. There are prepare teaching, management of teaching and follows evaluate factors which classify status and experience of teacher.
The populations who were used in this research are; Buddhist monk teachers leaded to intellect using manages for teaching and learning in Prapariyattedhamma School : Normal study sections Phrae 7 School. There are 25 teacher Buddhist monks and 48 lay teachers, total 73 people. Tools for collected data is the questionnaires which is more confident 0.5 The collected data by themselves and the analysis of data were Percentage ( % ), Mean ( ), Standard deviation (S.D) and hypothesis test by T- test and F – test..
Foundation Research :
A study of problem in applying the local knowledge intelligent in learning activities on Prapariyattidhamma School : Normal study sections Phrae in 3 factors. There are prepare teaching, management of teaching and follows evaluate fators. Found that All overall image factors are medium status.
The result of comparative problem in applying the local knowledge intelligent in learning activities on Prapariyattidhamma School : Normal study sections Phrae in 3 factors. There are prepare teaching, management of teaching and follows evaluate factors. Which classify status and experience of teachers. Found that
The prepare teaching factor. Classify by different status of teachers all overall image factors are different in significance of statistic at 0.5 level. Excepted in study analysis in source of intellect concern with lead of lacal knowledge using in teaching and learning not different.
The manages of learning and teaching factor. Classify by different status of teachers all overall image factors are different in significance of statistic at 0.5 level.
The follows evaluate factors Classify by different status of teachers all overall image factors are different in significance of statistic at 0.5 level. Except that evaluate in real experience by different.
The results comparative of problem state in applying the local knowledge intelligent in learning activities on Prapariyattidhamma School : Normal study sections Phrae in 3 factors. Theare are prepare teaching, management of teaching and follows and evaluate factors which classify status and experience of teachers.
The prepare teaching factor. Classify by experience of different status of teachers. All overall image factors the opinion are not different in significance of statistic at 0.5 level.
The manages of learning and teaching factor. Classify by experience of different status of teachers. All overall image factors are not different in significance of statistic at 0.5 level.
The follows and evaluate factors. Classify by experience of different status of teachers. All overall image factors are not different in significance of statistic at 0.5 level.
การศึกษาสภาพปัญหาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดแพร่
ชื่อรายงานการวิจัย: การศึกษาสภาพปัญหาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดแพร่
ผู้วิจัย: พระครูโสภณพัฒนานุยุต พระใบฎีกาอุดร อุตฺตรเมธี
นายเกรียงศักดิ์ ฟองคำ นายธนานุกูล ศรีคำภา
นางสาวอรอนงค์ วูวงศ์
ส่วนงาน: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลับ วิทยาเขตแพร่
ปีงบประมาณ: 2548
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดแพร่ ใน 3 ด้านคือ ด้านการเตรียมการสอน ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการติดตามและประเมินผล และเปรียบเทียบสภาพปัญหาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดแพร่ ใน 3 ด้านคือ ด้านการเตรียมการสอน ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการติดตามและประเมินผล จำแนกตามสถานภาพของครูผู้สอนและประสบการณ์ของผู้สอน
ประชากรที่ศึกษาได้แก่ ครูผู้สอน พระภิกษุและฆราวาส ที่นำภูมิปัญญาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาจังหวัดแพร่ จำนวน 7 โรงเรียน เป็นครูพระภิกษุ จำนวน 25 รูป และครูฆราวาส จำนวน 48 คน รวมทั้งหมด 73 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นมากกว่า 0.5 การเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการเก็บด้วยตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ข้อมูลทางสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าทดสอบที และค่าทดสอบเอฟ
ผลการวิจัยพบว่า :
1. การศึกษาสภาพปัญหาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดแพร่ ใน 3 ด้าน คือ ด้านการเตรียมการสอน ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการติดตามและประเมินผล พบว่า โดยรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน
2. ผลการเปรียบเทียบสภาพปัญหาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดแพร่ ใน 3 ด้าน คือ ด้านการเตรียมการสอน ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการติดตามและประเมินผล จำแนกตามสถานภาพของครูผู้สอน พบว่า
ด้านการเตรียมการสอน จำแนกตามสถานภาพของครูผู้สอนที่แตกต่างกัน โดยรวมมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้น ศึกษาวิเคราะห์แหล่งภูมิปัญญาเกี่ยวกับการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนไม่แตกต่างกัน
ด้านการจัดการเรียนการสอน จำแนกตามสภาพของครูผู้สอนที่แตกต่างกัน โดยรวมมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ด้านการติดตามและประเมินผล จำแนกตามสภาพของครูผู้สอนที่แตกต่างกัน โดยรวมมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้น ประเมินการฝึกประสบการจริงแตกต่างกัน
3. ผลการเปรียบเทียบสภาพปัญหาการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดแพร่ ใน 3 ด้าน คือ ด้านการเตรียมการสอน ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการติดตามและประเมินผล จำแนกตามประสบการณ์ของครูผู้สอน
ด้านการเตรียมการสอน จำแนกตามประสบการณ์ของครูผู้สอนที่แตกต่างกัน โดยรวมมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ด้านการจัดการเรียนการสอน จำแนกตามประสบการณ์ของครูผู้สอนที่แตกต่างกัน โดยรวมมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ด้านการติดตามและประเมินผล จำแนกตามสภาพประสบการณ์ของครูผู้สอนที่แตกต่างกัน โดยรวมมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
An Evaluation of the Project on Extra Co-Curriculum Activity of Mahachulalongkornrajavidyalaya University Northern Campus
Research Title: An Evaluation of the Project on Extra Co-Curriculum Activity of Mahachulalongkornrajavidyalaya University Northern Campus
Researchers: Assistant Prof. Poontrap Ketverarapong Phramaha Simrat Siritammo Mrs. Chonticha Jirapukpong
Department: Mahachulalongrajavidyalaya University, Phrae Campus
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The objective of this research was to study the evaluation of the project on extra co-curriculum activity of Mahaculalongkornrajavidya laya University, in Northern campus. Through opinions of the students were in four parts i.e. the imposts, process, outputs and impact. And to compare with the opinion of the students were in each campus. The sampling size was two hundred and eighty one. They were ninety of students from Phrae Campus, eighty three of students from Chiang Mai campus, and one hundred and eight of students from Phayao campus. Data were collected by using the questionnaire in five levels. Then it was analyzed by using percentage, arithmetic means, standard deviation and F-test. The secondary data also were used in this research.
The results of this research found that the opinion of the students were in four parts i.e. the inputs, process, outputs and impact. The comparatives study was the opinion of the students in each campus indicated that the total was 01 point. The separating in four parts was 01 point in different level. The comparative studies of the opinion of the students were in each faculty found that it was same results. But they were different from 01 points in total and by separating in four parts.
การประเมินโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตภาคเหนือ
ชื่อรายงานการวิจัย: การประเมินโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตภาคเหนือ
ผู้วิจัย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์พูนทรัพย์ เกตุวีระพงศ์ พระมหาสิมรัตน์ สิริธมฺโม
นางชลธิชา จิรภัคพงค์
ส่วนงาน: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่
ปีงบประมาณ: 2548
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
ในการวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อประเมินผลโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามความคิดเห็น ของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตภาคเหนือ ใน 4 ด้าน คือ ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของนิสิตเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร จำแนกตามวิทยาเขตภาคเหนือ และจำแนกตามคณะโดยใช้กลุ่มประชากร ได้แก่ นิสิตวิทยาเขตแพร่ จำนวน 99 รูป นิสิตวิทยาเขตเชียงใหม่ จำนวน 128 รูป นิสิตวิทยาเขตพะเยา จำนวน 123 รูป รวม 350 รูป การเก็บรวมรวบข้อมูลใช้แบบสอบถาม ประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย เลขคณิต (Arithmetic Means) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Diviation) และค่าเอฟ (F–test) ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา นำข้อมูลมาจัดหมวดหมู่ แล้วนำข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นร้อยแก้ว
ผลการวิจัย พบว่า มีนิสิตตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 281 รูป คิดเป็นร้อยละ 80.29 จำแนกตามวิทยาเขต คือ วิทยาเขตแพร่ จำนวน 90 รูป คิดเป็นร้อยละ 25.71 วิทยาเขตเชียงใหม่ จำนวน 83 รูป คิดเป็นร้อยละ 23.71 และวิทยาเขตพะเยา 108 รูป คิดเป็นร้อยละ 30.89 จำแนกตามคณะวิชาที่สังกัด คณะพุทธศาสตร์ จำนวน 87 คิดเป็นร้อยละ 24.86 คณะครุศาสตร์ จำนวน 35 คิดเป็นร้อยละ 10.0 คณะสังคมศาสตร์ จำนวน 126 คิดเป็นร้อยละ 36.0 และคณะมนุษยศาสตร์ จำนวน 33 คิดเป็นร้อยละ 9.43
ความเป็นคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตภาคเหนือ ในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน
สำหรับการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตภาคเหนือ จำแนกตามที่ตั้งของวิทยาเขต พบว่า ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และ ด้านผลกระทบ มีระดับความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนการวิเคราะห์เปรียบเทียบ จำแนกตามคณะวิชา พบว่า ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และ ด้านผลกระทบ มีระดับความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
ผู้วิจัย: ผู้ช่วยศาสตราจารย์พูนทรัพย์ เกตุวีระพงศ์ พระมหาสิมรัตน์ สิริธมฺโม
นางชลธิชา จิรภัคพงค์
ส่วนงาน: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่
ปีงบประมาณ: 2548
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
ในการวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อประเมินผลโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตามความคิดเห็น ของนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตภาคเหนือ ใน 4 ด้าน คือ ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของนิสิตเกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตร จำแนกตามวิทยาเขตภาคเหนือ และจำแนกตามคณะโดยใช้กลุ่มประชากร ได้แก่ นิสิตวิทยาเขตแพร่ จำนวน 99 รูป นิสิตวิทยาเขตเชียงใหม่ จำนวน 128 รูป นิสิตวิทยาเขตพะเยา จำนวน 123 รูป รวม 350 รูป การเก็บรวมรวบข้อมูลใช้แบบสอบถาม ประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย เลขคณิต (Arithmetic Means) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Diviation) และค่าเอฟ (F–test) ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา นำข้อมูลมาจัดหมวดหมู่ แล้วนำข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นร้อยแก้ว
ผลการวิจัย พบว่า มีนิสิตตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 281 รูป คิดเป็นร้อยละ 80.29 จำแนกตามวิทยาเขต คือ วิทยาเขตแพร่ จำนวน 90 รูป คิดเป็นร้อยละ 25.71 วิทยาเขตเชียงใหม่ จำนวน 83 รูป คิดเป็นร้อยละ 23.71 และวิทยาเขตพะเยา 108 รูป คิดเป็นร้อยละ 30.89 จำแนกตามคณะวิชาที่สังกัด คณะพุทธศาสตร์ จำนวน 87 คิดเป็นร้อยละ 24.86 คณะครุศาสตร์ จำนวน 35 คิดเป็นร้อยละ 10.0 คณะสังคมศาสตร์ จำนวน 126 คิดเป็นร้อยละ 36.0 และคณะมนุษยศาสตร์ จำนวน 33 คิดเป็นร้อยละ 9.43
ความเป็นคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตภาคเหนือ ในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และด้านผลกระทบ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน
สำหรับการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการกิจกรรมเสริมหลักสูตรมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตภาคเหนือ จำแนกตามที่ตั้งของวิทยาเขต พบว่า ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และ ด้านผลกระทบ มีระดับความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนการวิเคราะห์เปรียบเทียบ จำแนกตามคณะวิชา พบว่า ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิต และ ด้านผลกระทบ มีระดับความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
A Study a form of Wisdom (Panna) from the Dhamma cakkappappavattana Sutta, Dheghanikaya in Tipitaka
Research Title : A Study a form of Wisdom (Panna) from the Dhamma cakkappappavattana Sutta, Dheghanikaya in Tipitaka
Researchers : Assist. Prof. Lieutenant Dr. Banjob Bannaruji and Team Work
Department : The Department of Eastern Languages, the Faculty of Arts, Chulalongkorn University
Fiscal Year : 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor : Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The purpose of this research was to study the form of wisdom (Panna) from the Dhammacakkappavattana Sutta in Dheghanikaya. We can find it that some Sutta such as Dhammacakkappavattana Sutta explain the meaning of Panna is remain or unchanging while they develop broadly.
Researchers : Assist. Prof. Lieutenant Dr. Banjob Bannaruji and Team Work
Department : The Department of Eastern Languages, the Faculty of Arts, Chulalongkorn University
Fiscal Year : 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor : Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The purpose of this research was to study the form of wisdom (Panna) from the Dhammacakkappavattana Sutta in Dheghanikaya. We can find it that some Sutta such as Dhammacakkappavattana Sutta explain the meaning of Panna is remain or unchanging while they develop broadly.
Moreover it gives a birth for the developments: a explanatory development, a contents development, a development for a group of Vipassanapanna (insight) and a development for a group of the based on Panna in pali scriptures. The last of the developments, continuing in the form of the Tripitaka, commentary and sub commentary show the co-work for Pariyatti (study) and Patipatti (practice) mention in Buddhism.
ปัญญาในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร : ชื่อเรียกและพัฒนาการ
ชื่อรายงานการวิจัย : ปัญญาในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร : ชื่อเรียกและพัฒนาการ
ผู้วิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโท ดร.บรรจบ บรรณรุจิ
ส่วนงาน : ภาควิชาภาษาตะวันออก (สาขาวิชาภาษาบาลีสันสกฤต)
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปีงบประมาณ : ๒๕๔๘
ทุนอุดหนุนการวิจัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาชื่อปัญญาในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ที่มีใช้อยู่ใน ที่ต่าง ๆ ในพระไตรปิฎก ความหมายและการก่อกำเนิดพัฒนาการต่าง ๆ
ผลจากการวิจัย ทำให้ทราบว่า ชื่อปัญญาในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ต่อมาเมื่อนำไปใช้ในสูตรต่าง ๆ มีความหมายอย่างเดิมบ้าง มีความหมายขยายกว้างออกไปบ้าง และยังก่อกำเนิดพัฒนาการด้านการอธิบายขยายความ พัฒนาการเนื้อหา พัฒนาการเกิดกลุ่มวิปัสสนาญาณ และพัฒนาการคัมภีร์สายปัญญา พัฒนาการคัมภีร์สายปัญญาที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งส่วนที่เป็นพระไตรปิฎก อรรถกถาและฎีกา นั่นแสดงให้เห็นถึงว่า ปริยัติ และ ปฏิบัติ ก้าวหน้าควบคู่กันมาเป็นลำดับ ทำให้พระพุทธศาสนาสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
ผู้วิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยโท ดร.บรรจบ บรรณรุจิ
ส่วนงาน : ภาควิชาภาษาตะวันออก (สาขาวิชาภาษาบาลีสันสกฤต)
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปีงบประมาณ : ๒๕๔๘
ทุนอุดหนุนการวิจัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาชื่อปัญญาในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ที่มีใช้อยู่ใน ที่ต่าง ๆ ในพระไตรปิฎก ความหมายและการก่อกำเนิดพัฒนาการต่าง ๆ
ผลจากการวิจัย ทำให้ทราบว่า ชื่อปัญญาในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ต่อมาเมื่อนำไปใช้ในสูตรต่าง ๆ มีความหมายอย่างเดิมบ้าง มีความหมายขยายกว้างออกไปบ้าง และยังก่อกำเนิดพัฒนาการด้านการอธิบายขยายความ พัฒนาการเนื้อหา พัฒนาการเกิดกลุ่มวิปัสสนาญาณ และพัฒนาการคัมภีร์สายปัญญา พัฒนาการคัมภีร์สายปัญญาที่ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งส่วนที่เป็นพระไตรปิฎก อรรถกถาและฎีกา นั่นแสดงให้เห็นถึงว่า ปริยัติ และ ปฏิบัติ ก้าวหน้าควบคู่กันมาเป็นลำดับ ทำให้พระพุทธศาสนาสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
Buddhist Monks’ Participation in Indigenous Culture Preservation
Research Title : Buddhist Monks’ Participation in Indigenous Culture Preservation
Researchers : Phrakrukanlayanasitthiwat Phramaha Prayoon Theerawongso Mr. Luechai Wongthong
Department : Department of Psychology The Faculty of Humanities Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Fiscal Year : 2548 / 2005
Research Scholorship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The research was a Quantitative research with the following objectives:
1) to study Buddhist monks’ participation in indigenous culture Preservation
2) to study the factors affecting Buddhist monks’ participation in indigenous culture preservation.
The Samples of group in this research were 300 undergraduate students of Mahachulalongkornrajavidyalaya University in the academic year 2005; 100 students from Nakorn Ratchasima Campus, 50 from Nakornsri Thammarat Campus, 100 from Nakornsawan Collage and 50 students from Nakornpathom Pali Buddhagosa Campus.
The Instruments used in this research were the constructed questionnaire
Statistics used to analyze Data were mean, standard deviation One - Way ANOVA Pearson–Product Moment Correlation Coefficient and t-test.
Results of the research were as follows:
1. It was found that the participation in a decision making, practicing, getting benefits, and a follow-up and evaluation was in the moderate level.
2. The variables regarding age, years of ordination, educational qualifications before ordination, educational qualifications obtained during the ordination, status before ordination, occupation before ordination, monk’s title, administrative positions, experience in local culture preservation and the knowledge of information were associated with the participation in local culture preservation, whereas the level of the knowledge of information from personal and audio-visual media was not significantly related to Buddhist Monks’ participation in indigenous culture Preservation at .05 level.
การมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น
ชื่อรายงานการวิจัย: การมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น
ผู้วิจัย: พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์ ผศ.
พระมหาประยูร ธีรวํโส
นายลือชัย วงษ์ทอง
ส่วนงาน: ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปีงบประมาณ: 2548
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นิสิตของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีการศึกษา 2548 จำนวน 300 รูป คือ วิทยาเขตนครราชสีมา จำนวน 100 รูป วิทยาเขตนครศรีธรรมราช จำนวน 50 รูป วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ จำนวน 100 รูป วิทยาเขตบาฬีศึกษา พุทธโฆส นครปฐม จำนวน 50 รูป โดยได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถาม 1 ฉบับ
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ
1. วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น เพื่อให้ทราบลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง และลักษณะการแจกแจงของ ตัวแปร โดยใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และผลของการประมาณค่าเฉลี่ยของประชากร
2. เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น จำแนกตามตัวแปรอิสระ โดยใช้สูตรการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One–Way ANOVA) และเปรียบเทียบพหุคูณโดยใช้การทดสอบของเชฟเฟ่
3. วิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson–Product Moment Correlation Coefficient) และทดสอบนัยสำคัญด้วยค่าที (t)
ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้
1. การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของพระสงฆ์โดยรวมอยู่ในระดับในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ อยู่ในระดับปานกลาง ด้านการร่วมปฏิบัติการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น อยู่ในระดับปานกลาง ด้านการร่วมติดตามประเมินผลการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น อยู่ในระดับปานกลาง และด้านการร่วมผลประโยชน์การอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น อยู่ในระดับปานกลาง
2. ตัวแปรด้านอายุ อายุพรรษา วุฒิการศึกษา วุฒิการศึกษาระหว่างบวช สถานภาพก่อนบวช อาชีพก่อนบวช ระดับการศึกษาทางธรรม สมณศักดิ์ ตำแหน่งทางการบริหารคณะสงฆ์ ประสบการณ์ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น การรับรู้ข้อมูลข่าวสารมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น ส่วนระดับการรับรู้ข้อมูลข่าวสารสื่อจากบุคคล สื่อจาก โสตทัศน์ ไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
A Study of Relationship between Socio-Psychological Factors and Academic Achievement of the Students at the Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Research Title: A Study of Relationship between Socio-Psychological Factors and Academic Achievement of the Students at the Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Researchers: Phramaha Prayoon Tiravamso Dr. Konit Srithong Mr. Luechai Wongthong
Department: Buddhist Research Institute of Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Fiscal Year: 2548 / 2005
Research Scholarship Sponsor: Mahachulalongkornrajavidyalaya University
ABSTRACT
The purposes of this research were
1) to study a relationship between psychosocial factors and academic achievement of the students in Mahachulalongkornrajavidyalaya University
2) to study appearance psychological factors such as acknowledging information, attitude towards learning and institute, and adjustment oneself in working having relationship with academic achievement of students in Mahachu lalongkornrajavidyalaya University
3) to study socio-psychological factors and background of academic achievement of students 4) to comparative study the power of prediction of variables of appearance psychological group, sociology factor groups and situation psychological group for academic achievement of students.
Group of samples for the research were 200 high students of the first year, academic 2500 from simply samples of 40 high students faculty of Buddhism, 40 high students from faculty of education and 55 high students from faculty of humanities and 65 high students from faculty of Sociology in Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
An instruments of the analyzing of this research were individual questionnaire, the achievement motivation test questionnaire, internal locus of control questionnaire, future orientation questionnaire, mental health questionnaire, environmental questionnaire in University, questionnaire of relationship between students and teachers, questionnaire of relationship between students and friends, questionnaire of relationship between students and friends, situation psychological questionnaire, academic achievement questionnaire of students (in goodness, excellent and happiness).
Statistics on analyzing of data were value of correlation coefficient between independent variable and by using Pearson Product Moment Correlation Coefficient significance test by t-test and prediction of achievement in goodness, excellent and happiness of students from socio-psychological factors by using an analytical method of deta weight value of variable by multiple regression analysis with variable into an algebraic equation of enter and block wise, by statistical significance test of weight value of f-test.
The results of this research were summarized as follows:
1) It was appearance psychological factors, achievement motivation, internal locus of control, future-orientation, environments in university, relationship between students and friends, positive relationship and an aggregate academic achievement of students in goodness, excellence and significantly happiness 01 level, unless mental health level. There was no relationship with an aggregate academic achievement, separate each other, and statistical significant.
2) The situation-psychological factors were self-adjustment for working to the most influent of predication an aggregate learning. O An outcome and academic achievement were in excellence. And the happiness and factors of information acknowledging were influent predication means on predication of a good academic achievement.
3) appearance-psychological factors social-factors, bio-social factors and background situation psychological factors can be learnt outcome in excellence, goodness and happiness.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)